วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

2.1 เชื้อเพลิงและพลังงาน

เรื่องที่ 1 เชื้อเพลิงและพลังงานที่ใชในการผลิตไฟฟา

            พลังงานไฟฟาเปนพลังงานรูปหนึ่งที่มีความสําคัญและมีการใชงานกันมาอยางยาวนาน โดยสามารถผลิตไดจากเชื้อเพลิงตาง ๆ ไดแก เชื้อเพลิงฟอสซิลและพลังงานทดแทน ปจจุบันมีการใชพลังงานไฟฟาเพิ่มมากขึ้นทําใหตองมีการแสวงหาเชื้อเพลิงชนิดตางๆใหเพียงพอตอความตองการโดยแตละประเทศมีสัดสวนการใชเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาแตกตางกันไปตามศักยภาพของประเทศนั้น ๆ อยางไรก็ตามการผลิตกระแสไฟฟายังตองคํานึงถึงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมจึงตองมีการจัดการและแนวทางปองกันที่เหมาะสมภายใตขอกําหนดและกฎหมาย แบงเปน 5 ตอน ดังนี้

              ตอนที่ 1 เชื้อเพลิงฟอสซิล
              ตอนที่ 2 พลังงานทดแทน
              ตอนที่ 3 พลังงานทดแทนในชุมชน
              ตอนที่ 4 ตนทุนการผลิตพลังงานไฟฟาตอหนวยจากเชื้อเพลิงแตละประเภท
              ตอนที่ 5 ขอดีและขอจํากัดของการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงแตละประเภท

ตอนที่ 1 เชื้อเพลิงฟอสซิล เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) หมายถึง เชื้อเพลิงที่เกิดจากซากพืช ซากสัตวที่ทับถม จมอยูใตพื้นพิภพเปนเวลานานหลายรอยลานปโดยอาศัยแรงอัดของเปลือกโลกและความรอนใตผิว โลกมีทั้งของแข็ง ของเหลวและกาซ เชน ถานหินน้ํามัน กาซธรรมชาติ เปนตน แหลงพลังงานนี้เปน แหลงพลังงานที่สําคัญในการผลิตไฟฟาในปจจุบันสําหรับประเทศไทยไดมีการนําเอาพลังงาน ฟอสซิลมาใชในการผลิตไฟฟาประมาณรอยละ 90  1. ถานหิน (Coal)  ถานหิน เปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่อยูในสถานะของแข็ง เกิดจากการทับถมกัน ของซากพืชในยุคดึกดําบรรพ ถานหินมีปริมาณ
มากกวาเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดอื่น ๆ และมีแหลงกระจายอยูประมาณ 70 ประเทศทั่วโลก เชน อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย แอฟริกา เปนตน จากการ คาดการณปริมาณถานหินที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวา ถานหินในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 110 ป และถานหินใน ประเทศไทยมีเหลือใชอีก 69 ป ซึ่งถานหินที่นํามาเปนเชื้อเพลิงสําหรับการผลิตกระแสไฟฟา ไดแก ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส ถานหินสวนใหญที่พบในประเทศไทยเปนลิกไนตที่มีคุณภาพต่ํา ปริมาณสํารองสวน ใหญที่นํามาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาอยูที่เหมืองแมเมาะ จังหวัดลําปาง ในป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีการผลิตไฟฟาดวยถานหินรอยละ 18.96 ซึ่งมาจากถานหิน ภายในประเทศและบางสวนนําเขาจากตางประเทศ โดยนําเขาจากอินโดนีเซียมากที่สุด กระบวนการผลิตไฟฟาจากถานหิน การผลิตไฟฟาดวยถานหิน เริ่มจากการขนสงถานหินจากลานกองถานหินไปยังยุงถาน จากนั้นถานหินจะถูกลําเลียงไปยังเครื่องบด เพื่อบดถานหินใหเปนผงละเอียดกอนที่จะถูกพน เขาไปเผายังหมอไอน้ํา เมื่อถานหินเกิดการเผาไหมก็จะถายเทความรอนใหแกน้ํา ทําใหน้ํารอนขึ้นจนเกิดไอน้ําจะมีความดันสูงสามารถขับใบพัดกังหันไอน้ําทําใหกังหันไอน้ําหมุนโดยแกนของกังหัน ไอน้ําเชื่อมตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาจึงทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาทํางาน สามารถผลิตกระแสไฟฟาออกมาได


          2. น้ํามัน (Petroleum Oil)


              น้ํามันเปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่มีสถานะเปนของเหลว  เกิดจากซากสัตวและ ซากพืชทับถมเปนเวลาหลายรอยลานป พบมากในภูมิภาคตะวันออกกลาง สําหรับประเทศไทย มีแหลงน้ํามันดิบจากแหลงกลางอาวไทย เชน แหลงเบญจมาศ แหลงยูโนแคล แหลงจัสมิน   เปนตน และแหลงบนบก ไดแก แหลงสิริกิติ์ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร จากการ คาดการณปริมาณน้ํามันที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวาน้ํามันในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 52.5 ป และน้ํามันในประเทศ ไทยมีเหลือใชอีก 2.8 ป น้ํามันที่ใชในการผลิตไฟฟามี 2 ประเภท คือ น้ํามันเตาและน้ํามันดีเซลในป พ.ศ. 2558 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ใชน้ํามันผลิตไฟฟาในสัดสวนเพียงรอยละ 1 เทานั้น เนื่องจากมีตนทุนการผลิตสูงสําหรับการใชน้ํามันมาผลิตไฟฟานั้นมักจะใชเปน เชื้อเพลิงสํารองในกรณีที่เชื้อเพลิงหลัก เชน กาซธรรมชาติ มีปญหาไมสามารถนํามาใชได เปนตน กระบวนการผลิตไฟฟาจากน้ํามัน 1) การผลิตไฟฟาจากน้ํามันเตาใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงใหความรอนไปตมน้ํา เพื่อ ผลิตไอน้ําไปหมุนกังหันไอน้ําที่ตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา  2) การผลิตไฟฟาจากน้ํามันดีเซล มีหลักการทํางานเหมือนกับเครื่องยนตในรถยนต ทั่วไป ซึ่งจะอาศัยหลักการสันดาปของน้ํามันดีเซลที่ถูกฉีดเขาไปในกระบอกสูบของเครื่องยนตที่ถูก อัดอากาศจนมีอุณหภูมิสูง และเกิดระเบิดดันใหลูกสูบเคลื่อนที่ลงไปหมุนเพลาขอเหวี่ยงซึ่งตอกับ
30  เพลาของเครื่องยนต ทําใหเพลาของเครื่องยนตหมุน และทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาซึ่งตอกับเพลา ของเครื่องยนตหมุนตามไปดวยจึงเกิดการผลิตไฟฟาออกมา


        3. กาซธรรมชาติ (Natural Gas)


            กาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่มีสถานะเปนกาซ ซึ่งเกิดจากการทับถม ของซากสัตวและซากพืชมานานนับลานป พบมากในภูมิภาคตะวันออกกลาง จากการคาดการณ ปริมาณกาซธรรมชาติที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวา กาซธรรมชาติในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 54.1 ป และกาซ ธรรมชาติในประเทศไทยมีเหลือใชอีก 5.7 ป กระบวนการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ  เริ่มตนดวยกระบวนการเผาไหมกาซธรรมชาติ  ในหองสันดาปของกังหันกาซที่มี ความรอนสูงมาก เพื่อใหไดกาซรอนมาขับกังหัน ซึ่งจะไปหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา จากนั้นจะนํากาซ รอนสวนที่เหลือไปผลิตไอน้ําสําหรับใชขับเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบกังหันไอน้ํา สําหรับไอน้ําสวนที่
31
เหลือจะมีแรงดันต่ําก็จะผานเขาสูกระบวนการลดอุณหภูมิ เพื่อใหไอน้ําควบแนนเปนน้ําและ      นํากลับมาปอนเขาระบบผลิตใหมอยางตอเนื่อง

ตอนที่ 2 พลังงานทดแทน พลังงานทดแทน (Alternative Energy) 
              ตามความหมายของกระทรวงพลังงานคือ พลังงานที่นํามาใชแทนน้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งเปนพลังงานหลักที่ใชกันอยูทั่วไปในปจจุบันพลังงาน ทดแทนที่สําคัญ เชน พลังงานน้ํา พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานจากชีวมวล และพลังงานนิวเคลียร เปนตน ปจจุบันทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศไทย กําลังเผชิญกับปญหาดานพลังงานเชื้อเพลิง ฟอสซิล เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ เปนตน ทั้งในดานราคาที่สูงขึ้น และปริมาณที่ลดลงอยาง ตอเนื่อง นอกจากนี้ปญหาสภาวะโลกรอนซึ่งสวนหนึ่งมาจากการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มากขึ้นอยาง ตอเนื่องตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการกระตุนใหเกิดการคิดคนและ พัฒนาเทคโนโลยีที่ใชพลังงานชนิดอื่น ๆ ขึ้นมาทดแทนซึ่งพลังงานทดแทนเปนพลังงานชนิดหนึ่งที่ ไดรับความสนใจ และภาครัฐไดมีนโยบายสงเสริมใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีดานพลังงานทดแทน อยางกวางขวางในประเทศ เนื่องจากเปนพลังงานที่ใชแลวไมทําลายสิ่งแวดลอม โดยพลังงานทดแทนที่สําคัญและใชกันอยูในปจจุบัน ไดแก ลม น้ํา แสงอาทิตย ชีวมวล ความรอนใตพิภพ และนิวเคลียร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. พลังงานลม การผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานลมจะใชกังหันลมเปนอุปกรณในการเปลี่ยน พลังงานลมเปนพลังงานไฟฟา โดยจะตอใบพัดของกังหันลมเขากับเครื่องกําเนิดไฟฟา เมื่อลมพัด มาปะทะจะทําใหใบพัดหมุน แรงจากการหมุนของใบพัดจะทําใหแกนหมุนที่เชื่อมอยูกับเครื่อง กําเนิดไฟฟาหมุน เกิดการเหนี่ยวนําและไดไฟฟาออกมา อยางไรก็ดีการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม ก็จะขึ้นอยูกับความเร็วลม สําหรับประเทศไทยมีศักยภาพพลังงานลมต่ําทําใหผลิตไฟฟาไดจํากัด ไมเต็มกําลังการผลิตติดตั้งพลังงานที่ไดรับจากกังหันลม สามารถแบงชวงการทํางานของกังหันลม ไดดังนี้
       1) ความเร็วลมต่ําในชวง 1 - 3 เมตรตอวินาที กังหันลมจะยังไมทํางานจึงยัง ไมสามารถผลิตไฟฟาออกมาได
       2) ความเร็วลมระหวาง 2.5 - 5 เมตรตอวินาที กังหันลมจะเริ่มทํางาน เรียกชวงนี้ วา “ชวงเริ่มความเร็วลม” (Cut in wind speed)
       3) ความเร็วลมชวงประมาณ 12 - 15 เมตรตอวินาที เปนชวงที่เรียกวา “ชวง ความเร็วลม” (Rate wind speed) ซึ่งเปนชวงที่กังหันลมทํางานอยูบนพิกัดกําลังสูงสุด ในชวงที่ ความเร็วลมไตระดับไปสูชวงความเร็วลม เปนการทํางานของกังหันลมดวยประสิทธิภาพสูงสุด (Maximum rotor efficiency) 4) ชวงที่ความเร็วลมสูงกวา 25 เมตรตอวินาที กังหันลมจะหยุดทํางาน เนื่องจาก ความเร็วลมสูงเกินไป ซึ่งอาจทําใหเกิดความเสียหายตอกลไกของกังหันลมได เรียกวา “ชวงเลย ความเร็วลม” (Cut out wind speed) กังหันลมขนาดใหญในปจจุบันนั้นมีขนาดเสนผานศูนยกลางของใบพัดมากกวา 65 เมตร ในขณะที่กังหันลมขนาดที่เล็กลงมามีขนาดประมาณ 30 เมตร (ซึ่งสวนมากใชอยูใน ประเทศกําลังพัฒนา) สวนเสาของกังหันมีความสูงอยูระหวาง 25 - 80 เมตร  ศักยภาพของพลังงานลมกับการผลิตพลังงานไฟฟา ศักยภาพของพลังงานลม ไดแก ความเร็วลม ความสม่ําเสมอของลม ความยาวนาน ของการเกิดลม ปจจัยตาง ๆ เหลานี้ ลวนมีผลตอการทํางานของกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟา ดังนั้นการติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาในพื้นที่ตาง ๆ จึงตองพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ดังที่ กลาวมา และตองออกแบบลักษณะของกังหันลมที่จะติดตั้ง ไดแก รูปแบบของใบพัด วัสดุที่ใชทํา ใบพัด ความสูงของเสาที่ติดตั้งกังหันลม ขนาดของเครื่องกําเนิดไฟฟา และระบบควบคุมใหมี ลักษณะที่สอดคลองกับศักยภาพของพลังงานลมในพื้นที่นั้น ๆ ปจจุบันมีการติดตั้งเครื่องวัดความเร็วลมในพื้นที่ตาง ๆ ของประเทศไทย เพื่อหา ความเร็วลมในแตละพื้นที่ ซึ่งแผนที่แสดงความเร็วลมมีประโยชนมากมาย เชน ใชพิจารณากําหนด

ตําแหนงสถานที่สําหรับติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟา ใชออกแบบกังหันลมใหมี ประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด ใชประเมินพลังงานไฟฟาที่กังหันลมจะสามารถผลิตได และนํามาใช วิเคราะหและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานลมในดานตาง ๆ ใหมีความเหมาะสมกับศักยภาพของ พลังงานลม เปนตน
     

     2. พลังงานน้ํา
         
         การผลิตไฟฟาจากพลังงานน้ําโดยการปลอยน้ําจากเขื่อนใหไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ํา เมื่อน้ําไหลลงมาปะทะกับกังหันน้ําก็จะทําใหกังหันหมุนแกนของเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ถูกตออยูกับ กังหันน้ําดังกลาวก็จะหมุนตาม เกิดการเหนี่ยวนําและไดไฟฟาออกมา จากนั้นก็ปลอยน้ําใหไหลสู แหลงน้ําตามเดิม แตประเทศไทยสรางเขื่อนโดยมีวัตถุประสงคหลักคือการกักเก็บน้ําไวใชใน การเกษตร ดังนั้นการผลิตไฟฟาดวยพลังงานน้ําจากเขื่อนจึงเปนเพียงผลพลอยไดเทานั้น
                         


         3. พลังงานแสงอาทิตย
             การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยใชเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) ซึ่งเปน สิ่งประดิษฐทางอิเล็กทรอนิกสชนิดหนึ่งทํามาจากสารกึ่งตัวนําพวกซิลิคอนสามารถเปลี่ยนพลังงาน แสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟาไดโดยตรง เซลลแสงอาทิตยแบงตามวัสดุที่ใชผลิตได 3 ชนิดหลักๆ คือ เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกเดี่ยว เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกรวม และเซลลแสงอาทิตยแบบ อะมอรฟส มีลักษณะดังภาพ   


ซลลแสงอาทิตยแตละชนิดจะมีประสิทธิภาพของการแปรเปลี่ยนพลังงาน แสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟาตางกัน ดังนี้ 1) เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกเดี่ยว มีประสิทธิภาพ รอยละ 10 – 16 2) เซลลแอาทิตยแบบผลึกรวม มีประสิทธิภาพ รอยละ 10 - 14.5 3) เซลลแสงอาทิตยแบบอะมอรฟส มีประสิทธิภาพ รอยละ 4 – 9 แมพลังงานแสงอาทิตยจะเปนพลังงานสะอาดแตก็มีขอจํากัดในการผลิตไฟฟา โดย สามารถผลิตไฟฟาไดแคชวงที่มีแสงแดดเทานั้น ประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟาขึ้นอยูกับความเขมรังสีดวงอาทิตย ซึ่งจะมีคาเปลี่ยนแปลงไปตามเสนละติจูด ชวงเวลาของวัน ฤดูกาล สภาพ อากาศ

ภาพแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตยเฉลี่ยตลอดปของประเทศไทย 


ความเขมแสงอาทิตยของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่และฤดูกาลโดย ไดรับรังสีดวงอาทิตยคอนขางสูงระหวางเดือนเมษายน และพฤษภาคม เทานั้น บริเวณที่รับรังสีดวง อาทิตยสูงสุดตลอดทั้งปที่คอนขางสม่ําเสมออยูในบริเวณจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย ศรีสะเกษ รอยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี และอุดรธานี บางสวนในภาคกลางที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา และลพบุรี สวนในบริเวณจังหวัดอื่น ๆ ความเขมรังสีดวงอาทิตยยังมีความไม สม่ําเสมอและมีปริมาณความเขมต่ํา ยังไมคุมคากับการลงทุนสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เพื่อหวังผลในเชิงพาณิชย ในการจัดตั้งโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทย ควรคํานึงถึงสภาพ ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศดังกลาวไปแลวขางตน เพราะโรงไฟฟพลังงานแสงอาทิตยนั้น ตองการพื้นที่มาก ในการสรางโรงไฟฟาขนาด 1 เมกะวัตต ตองใชพื้นที่มากถึง 15 -25 ไร ซึ่งหาก เลือกพื้นที่ที่ไมเหมาะสม เชน เลือกพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณของธรรมชาติ มีตนไมใหญหนาแนน อาจตองมีการโคนถางเพื่อปรับพื้นที่ใหโลง สิ่งนี้อาจเปนการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ นอกจาก จะไมชวยเรื่องภาวะโลกรอนแลวอาจสรางปจจัยที่ทําใหเกิดสภาวะโลกรอนเพิ่มขึ้นดวย  ตําแหนงที่ติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตยตองเปนตําแหนงที่สามารถรับแสงอาทิตยไดดี ตลอดทั้งวัน ตลอดทั้งป ตองไมมีสิ่งปลูกสรางหรือสิ่งอื่นใดมาบังแสงอาทิตยตลอดทั้งวัน และไมควร เปนสถานที่ที่มีฝุน หรือไอระเหยจากน้ํามันมากเกินไป เพื่อประสิทธิภาพในการแปรเปลี่ยน แสงอาทิตยเปนไฟฟา  

       4. พลังงานชีวมวล ชีวมวล (Biomass) 
หมายถึง อินทรียสารที่ไดจากสิ่งมีชีวิต ที่ผานการยอยสลาย ตามธรรมชาติ โดยมีองคประกอบพื้นฐานเปนธาตุคารบอน และธาตุไฮโดรเจน ซึ่งธาตุดังกลาวไดมา จากกระบวนการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเหลานั้น แลวสะสมไวถึงแมจะยอยสลายแลวก็ยังคงอยู ชีวมวลมีแหลงกําเนิดมาจากภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคชุมชน สําหรับประเทศไทยซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม ทําใหมีผลผลิตและวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร  ในอดีตชีวมวลสวนใหญจะถูกทิ้งซากใหเปนปุยอินทรียหรือเผาทําลายโดยเปลาประโยชน อีกทั้งยังเปนการสรางมลพิษใหกับสิ่งแวดลอม อันที่จริงแลวผลผลิตและวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ดังกลาวมีคุณสมบัติเปนเชื้อเพลิงไดอยางดี ซึ่งใหความรอนในปริมาณสูง สามารถนํามาใชประโยชน ในการผลิตพลังงานทดแทนได หรือนํามาใชโดยผานกระบวนการแปรรูปใหเปนเชื้อเพลิงที่อยูใน สถานะตาง ๆ ไดแก ของแข็ง ของเหลว และกาซ เรียกวา “พลังงานชีวมวล” ชีวมวล สามารถนําไปใชเปนแหลงพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Source) ทั้งในรูปของเชื้อเพลิงที่ใหความรอนโดยตรง และเปลี่ยนรูปเปนพลังงานไฟฟา อีกทั้งยัง สามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบ (Materials) สําหรับผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่ไมใชพลังงานไดดวย เชน อาหาร ปุย เครื่องจักสาน เปนตน




ผลผลิตทางการเกษตรที่มีวัสดุเหลือทิ้งสามารถนํามาใชเปนแหลงพลังงานชีวมวลได ดังตัวอยางตอไปนี้ ชีวมวลที่ไดจากพืชชนดิตาง ๆ ชนิดของพืช ชีวมวล ขาว แกลบ ฟาง ขาวโพด ลําตน ยอด ใบ ซัง ออย ยอดใบ กาก สับปะรด ตอ ซัง มันสําปะหลัง ลําตน เหงา ถั่วเหลือง ลําตน เปลือก ใบ มะพราว กะลา เปลือก กาบ กาน ใบ ปาลมน้ํามัน กาน ใบ ใย กะลา ทะลาย ไม เศษไม ขี้เลื่อย ราก ชีวมวลในทองถิ่นหรือชุมชนแตละชุมชนอาจไมเหมือนกันขึ้นอยูกับพื้นที่ในแตละ ทองถิ่นวามีชีวมวลชนิดใดบางที่สามารถแปรรูปเปนพลังงานหรือนํามาใชประโยชนได เชน พื้นที่ที่มีการปลูกขาวมากจะมีแกลบที่ไดจากการสีขาวเปลือก สามารถนํามาใชเปนเชื้อเพลิง ใชผสมลงใน ดินเพื่อปรับสภาพดินกอนเพาะปลูก หรือในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตวมากทําใหมีมูลสัตว สามารถ นํามาใชผลิตกาซชีวภาพและทําเปนปุย เปนตน  ปจจุบันในประเทศไทยมีการผลิตไฟฟาโดยใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิงกันอยาง แพรหลายซึ่งมีหลักการทํางานจําแนกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) โรงไฟฟาพลังความรอนชีวมวล การผลิตไฟฟาจากชีวมวลสวนใหญเลือกใชระบบการเผาไหมโดยตรง (DirectFired) โดยชีวมวลจะถูกสงไปยังหมอไอน้ํา (Boiler) หมอไอน้ําจะมีการเผาไหมทําใหน้ํารอนขึ้นจน เกิดไอน้ํา ตอจากนั้นไอน้ําถูกสงไปยังกังหันไอน้ํา เพื่อปนกังหันที่ตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา ทําให ไดกระแสไฟฟาออกมา 

         5. พลังงานความรอนใตพิภพ 
       พลังงานความรอนใตพิภพเปนพลังงานความรอนตามธรรมชาติที่ไดจากแหลงความ รอนที่ถูกกักเก็บอยูภายใตผิวโลก  แหลงพลังงานความรอนใตพิภพจะตั้งอยูในบริเวณที่เรียกวา “จุดรอน” (Hot Spots) มักตั้งอยูในบริเวณที่เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่เขตที่ภูเขาไฟยังคุกรุน    และบริเวณที่มีชั้นของเปลือกโลกบาง ซึ่งทั้งหมดนี้ปรากฏใหเห็นในรูปของบอน้ําพุรอนไอน้ํารอน และบอโคลนเดือด   



          6. พลังงานนิวเคลียร 
              พลังงานนิวเคลียร คือ พลังงานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของ อะตอมซึ่งมนุษยไดมีการนําพลังงานนิวเคลียรมาใชประโยชนในหลายดาน เชน การแพทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการผลิตไฟฟา เปนตน การผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรเหมือนกับโรงไฟฟาพลังความรอนทั่วไป แตกตางกันที่แหลงกําเนิดความรอน โรงไฟฟาพลังความรอนจะใชการเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิล เชน ถานหิน กาซธรรมชาติ และน้ํามัน เปนตน สวนโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรใชปฏิกิริยาแตกตัว นิวเคลียสของอะตอมของเชื้อเพลิงนิวเคลียรที่เรียกวา “ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชัน” (Nuclear Fission) ผลิตความรอนในถังปฏิกรณนิวเคลียรธาตุที่สามารถนํามาใชเปนเชื้อเพลิงในโรงไฟฟา พลังงานนิวเคลียร คือ ยูเรเนียม – 235 ซึ่งเปนธาตุตัวหนึ่งที่มีอยูในธรรมชาติโดยนิวเคลียสของ เชื้อเพลิงนิวเคลียรที่จะแตกออกไดเปนธาตุใหม 2 ธาตุ พรอมทั้งใหพลังงานหรือความรอนจํานวน มหาศาลออกมา ความรอนที่เกิดขึ้นนี้สามารถนํามาใหความรอนกับน้ําจนเดือดกลายเปนไอน้ําไป หมุนกังหันไอน้ําที่ตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาก็จะสามารถผลิตกระแสไฟฟาได

รูปโรงงานพลังงานนิวเคลียร 


ตอนที่ 3 พลงังานทดแทนในชุมชน 
         วิกฤตการณดานพลังงานไดกอตัว และมีแนวโนมทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากการ ขาดแคลนแหลงพลังงาน และผลกระทบของการใชพลังงาน ที่มีตอสภาวะสิ่งแวดลอม ดังนั้น     ทุกภาคสวนจึงตองตระหนักถึงวิกฤตการณเหลานี้ และพยายามคิดคนเพื่อหาทางออก หนทางหนึ่ง ในการแกไขวิกฤตการณดังกลาว คือ การใชพลังงานทดแทน เนื่องจากแตละทองถิ่นมีโครงสรางพื้นฐาน สภาพแวดลอมและวัตถุดิบที่จะนํามาแปลง สภาพเปนพลังงานเพื่อใชงานในทองถิ่นที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นแตละทองถิ่น หรืออาจจะ เริ่มตนที่ครัวเรือน จะตองพิจารณาวามีอะไรบางที่มีศักยภาพ เพียงพอที่จะนํามาผลิตเปนพลังงาน เพื่อใชในครัวเรือน หรือทองถิ่นของตนเองไดบาง อาทิเชน เชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) ซึ่งเปนวัสดุ หรือสารอินทรียที่สามารถเปลี่ยนแปลงเปนพลังงานได ชีวมวลนับรวมถึงวัสดุเหลือทิ้งทาง การเกษตร เศษไม ปลายไมจากอุตสาหกรรมไม มูลสัตว ของเสียจากโรงงานแปรรูปทางการเกษตร และของเสียจากชุมชน หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร เชน แกลบ ชานออย เศษไม กากปาลม กากมันสําปะหลัง ซังขาวโพด กาบและกะลามะพราว และสาเหลา เปนตน เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) เชื้อเพลิงที่ไดจากชีวมวล (Biomass) เปนพลังงานที่ไดจาก พืชและสัตวโดยมีพื้นฐานจากการสังเคราะหแสงแลวเก็บรวบรวมพลังงานจากดวงอาทิตยเอาไว ในรูปของพลังงานเคมี หรือองคประกอบของสิ่งมีชีวิตหรือสารอินทรียตาง ๆ รวมทั้งการผลิตจากการเกษตรและปาไม เชน ไมฟน แกลบ กากออย วัสดุเหลือใชทางการเกษตรอื่น ๆ พลังงาน แสงอาทิตย พลังงานน้ําตลอดจนพลังงานลม พลังงานความรอนใตพิภพ เปนตน เมื่อครัวเรือน หรือทองถิ่นทราบศักยภาพวาตนเองมีความพรอมที่จะผลิตพลังงาน     จากแหลงใดมากที่สุดแลว ก็สามารถพิจารณาดําเนินการได โดยอาจเริ่มจากการไปศึกษาดูงาน หรือขอคําแนะนําจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน จากครัวเรือน หรือทองถิ่นที่ประสบความสําเร็จ ในการผลิตพลังงานขึ้นใชเอง หรือจากหนวยงานราชการ รวมถึงสถาบันการศึกษาตาง ๆ ซึ่งจะ           ทําใหไดแนวทางในการพัฒนาพลังงานทองถิ่นขึ้นใชเองอยางเหมาะสมและมีโอกาสประสบ ความสําเร็จสูง ชุมชนแตละชุมชนจะมีศักยภาพของแตละชุมชนแตกตางกันไปตามศักยภาพของแตละ พื้นที่ เชน พื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตวจํานวนมากก็จะมีศักยภาพในการนํามูลสัตวมาทําไบโอกาซ  หรือพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกออย หรือมันสําปะหลัง ก็จะมีศักยภาพในการนํามาทําชีวมวล เปนตน ตัวอยาง องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดใหความสําคัญกับการผลิตพลังงานทดแทนใช อยางเปนรูปธรรม    

1. พลังงานทดแทนจากกระแสลม 
            องคกรปกครองรูปแบบพิเศษอยาง "เมืองพัทยา" อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ก็มี ความตื่นตัวในการคิดหาพลังงานทดแทน คือ กังหันลมมาใช เพื่อลดการพึ่งพาน้ํามันเชนกัน โครงการนี้เกิดขึ้นเนื่องจากบนเกาะลานมีประชากรอาศัยอยู 489 ครัวเรือน หรือ ประมาณ 3,000 คน ไมรวมประชากรแฝงอีกกวา 2,000 คน และยังมีนักทองเที่ยวทั้งไทยและ ตางชาติที่หลั่งไหลเขามาพักผอนอยูบนเกาะอีกประมาณ 60,000 คนตอเดือน การผลิตไฟฟาบน เกาะยังตองพึ่งพาเครื่องปนไฟของการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ที่ตองใชน้ํามันดีเซลเปนตนทุน หลักที่มีราคาสูงขึ้นทุกวันนอกจากจะมีตนทุนการผลิตไฟสูงขึ้นเรื่อย ๆ เครื่องปนไฟแบบเดิมยังเกิด การชํารุดอยูบอยครั้งทําใหเครื่องใชไฟฟาตามบานและสถานประกอบการบนเกาะไดรับความ เสียหายจากเหตุกระแสไฟฟาตก และบางวันกระแสไฟฟาที่ผลิตไดก็ไมเพียงพอตอความตองการ ดวย  เมืองพัทยา จึงมีแนวคิดหาพลังงานรูปแบบใหมมาทดแทนน้ํามัน โดยคํานึงถึงปญหา สิ่งแวดลอมเปนสําคัญ ทั้งยังนอมนําแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในดานการ ใชพลังงานทดแทน และการพึ่งพาตัวเองอยางยั่งยืนมาใช โดยการคัดเลือกพื้นที่เกาะลานที่มีความ เหมาะสมทางสภาพภูมิประเทศ ทั้งกระแสลมและพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งสามารถผลิต กระแสไฟฟาไดทั้งป และยังเปนการชวยสงเสริมการทองเที่ยว และเปนแหลงเรียนรูพลังงาน ทดแทนอีกทางหนึ่งดวย บริเวณหาดแสมหางจากจุดเนินนมสาวประมาณ 20 เมตร คือ ทําเลที่ถูกเลือกใหเปน สถานที่ติดตั้งกังหันลม โดยแบงการดําเนินงานออกเปน 3 ระยะ ระยะละ 15 ตน รวมทั้งสิ้นมี กังหันลม 45 ตน จากการตรวจวัดความเร็วลมที่เกาะลานพบวามีความเร็วลมเฉลี่ยที่ประมาณ    4 - 5 กิโลเมตรตอวินาที ซึ่งจะทําใหระบบกังหันลมผลิตกระแสไฟฟาไดที่ 25 - 30 กิโลวัตต และ หากมีลมเฉลี่ยตอเนื่องประมาณ 10 ชั่วโมง จะทําใหระบบสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดประมาณ วันละ 200 หนวย และลดการใชน้ํามันดีเซลเพื่อผลิตกระแสไฟฟาไดถึงวันละประมาณ 200 ลิตร หรือประมาณรอยละ 20 ของปริมาณการใชน้ํามันดีเซล ขณะที่ตนทุนการผลิตไฟฟาจากกังหันลม อยูที่หนวยละ 6 บาท ซึ่งถูกกวาการใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิงถึง 3 บาท การติดตั้งกังหันลม พรอมทั้งระบบควบคุม จนเริ่มตนเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟา สําเร็จตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. 2550 โดยพลังงานที่ไดจากการหมุนของกังหันลม จะถูกเก็บ รวบรวมที่หองสํารองพลังงาน ซึ่งทําหนาที่คลายแบตเตอรี่กอนใหญที่ควบคุมการสั่งการไดทั้ง      
2 ระบบ คือ ระบบสั่งการโดยมนุษย และระบบคอมพิวเตอร ในระยะแรกกระแสไฟฟาที่ผลิตได ถูกจายเพื่อใชงานโดยตรงบริเวณทาหนาบาน บริเวณหาดแสม และกระแสไฟฟา สาธารณะตาง ๆ บนเกาะ แตในปจจุบันกระแสไฟฟาถูกจายรวมเขาสูระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค กอนที่จะกระจายตามสายสงเพื่อใชงานในชุมชนตอไป 
           
2. พลังงานทดแทนจากพลงัน้ํา 
      โรงไฟฟาพลังน้ํา ชุมชนบานคลองเรือ หมู 9 ตําบลปากทรง อําเภอพะโตะ จังหวัด ชุมพร เปนแหลงตนน้ําอยูในพื้นที่ลุมน้ําหลังสวนตอนบนในเขตรักษาพันธุสัตวปาควนแมยายหมอน สภาพพื้นที่เปนปาดิบชื้นบนภูเขาสลับซับซอน มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง มั่งคั่งดวย ทรัพยากรธรรมชาติ คลองเรือเปนชุมชนขนาดเล็ก มีประชากรอาศัยอยู 81 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 183 คน ภายในหมูบานไมมีกระแสไฟฟาในป พ.ศ. 2537 หนวยอนุรักษและจัดการตนน้ําพะโตะ กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ไดจัดทําโครงการ “คนอยู - ปายัง” ตามแนวพระราชดําริ ในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สรางการมีสวนรวมของชุมชน เพื่อสรางความ มั่นคงดานเศรษฐกิจแกชุมชนภายใตกรอบการอนุรักษสิ่งแวดลอม มีการจัดการการใชประโยชน และปกปองรักษาทรัพยากร ผสมผสานภูมิปญญาชาวบานและเทคโนโลยีอยางเหมาะสม สงเสริม ความรูใหชุมชนเขมแข็งตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหชุมชนพัฒนาทางความคิด และกลไกในการดูแลตนเองมากขึ้นสามารถบริหารจัดการทรัพยากรดิน น้ํา ปาไม ใหดํารงชีวิตอยู รวมกับปาไมอยางสมดุล อยางไรก็ตามชุมชนบานคลองเรือ เปนหมูบานที่ไมมีไฟฟาใชและเปน ความฝนอันสูงสุดของชุมชนที่ตองการใหลูกหลานในหมูบานไดเห็นขาวสารภายนอก ซึ่งถือเปน “แสงสวางแหงปญญา” และชาวบานคลองเรือ ยังคงแสวงหาแหลงความรูและภูมิปญญาจากการ เดินทางไปดูงานในที่ตาง ๆ อยางตอเนื่อง ตอมาในป พ.ศ. 2551 ไดมีโครงการการจดัการความรูดานพลังงานไฟฟาในพื้นที่ภาคใต โดยความรวมมือระหวางนักวิชาการจากคณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยชีวิตเมืองนครศรีธรรมราช ภายใตการสนับสนุนจาก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งไดรวมทํางานกับชุมชน บานคลองเรือ โดยใชกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมเริ่มตนจากการศึกษาศักยภาพของชุมชน ในดานสังคม และทรัพยากรธรรมชาติ พรอม ๆ กับการเปดโลกทัศน นําผูนําชุมชนศึกษาดูงานดาน การผลิตไฟฟา จากแหลงพลังงานตาง ๆ ทั้งจากเชื้อเพลิง ถานหิน น้ําตก และชีวมวลในพื้นที่ ภาคเหนือและพบวาชุมชนบานคลองเรือ มีความพรอมในดานตาง ๆ โดยเฉพาะศักยภาพทาง ทรัพยากร (น้ํา) และความเขมแข็งของชุมชน ดังนั้นทีมงานดานวิศวกรรมศาสตร จึงเริ่มศึกษา รายละเอียดดานเทคนิค ศึกษาความเปนไปไดในการกอสรางโรงไฟฟาพลังน้ํา บริเวณน้ําตกเหวตาจันทร หลังจากการสํารวจ เก็บขอมูลสภาพพื้นที่ ชุมชนจึงไดเลือกโรงไฟฟาที่มีกําลังการผลิต 100 กิโลวัตต ที่ไมสงผลกระทบตอสภาพทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนวิถีการดํารงชีวิตของ ชุมชนที่มีมาแตเดิม ในระหวางการดําเนินโครงการชุมชนมีสวนรวมในทุกขั้นตอนมีการเตรียมชาง ชุมชนเขาอบรมเพิ่มพูนความรู เรื่องการเดินระบบผลิตไฟฟา การดูแลรักษาเครื่องจักรอุปกรณ ตลอดจนรวมกันวางแผนการกอสราง การระดมทุน การประสานความรวมมือกับภาคีตาง ๆ      จนเกิดองคกร / กลไกใหมขึ้นมา ทั้งในระดับจังหวัดและในระดับชุมชน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดเล็งเห็นถึงศักยภาพทางทรัพยากร     โดยการนําทรัพยากรมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดและการสรางความเขมแข็งของชุมชนเพื่อใหเกิด การพัฒนาพลังงานอยางยั่งยืน จึงจัดสงเจาหนาที่ศึกษารายละเอียดความเปนไปไดของการพัฒนา โรงไฟฟาชุมชนบานคลองเรือ และใหการสนับสนุน ดังนี้ 
            1) เครื่องกําเนิดไฟฟาพรอมอุปกรณประกอบ ซึ่งเปนผลงานการวิจัยเครื่องกําเนิด ไฟฟาขนาดเล็กของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี จากทุนการวิจัยของ กฟผ. 
           2) งบประมาณสําหรับการจัดหาระบบสงไฟฟา จากโรงไฟฟาไปยังหมูบาน จํานวน  9,000,000 บาท (เกาลานบาท) 
     3) สนับสนุนบุคลากรผูเชี่ยวชาญเครื่องจักรอุปกรณและใหคําแนะนํารวมกับชุมชน ระหวางการกอสรางทุกขั้นตอน

เรื่องที่ 2 โรงไฟฟากับการจัดการดานสิ่งแวดลอม 
         การกอสรางโรงไฟฟาแตละแหงมีการใชทรัพยากรธรรมชาติและอาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม

ดวยเหตุนี้ในการกอสรางโรงไฟฟาแตละแหงจึงใหความสําคัญเกี่ยวกับการใช ทรัพยากรธรรมชาติ การปองกันแกไขและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม เพื่อสรางความ สมดุลระหวางโรงไฟฟากับสิ่งแวดลอมและชุมชนใหดีที่สุด เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการ ของภาคเศรษฐกิจและสังคมไดอยางยั่งยืน โดยเนนใหมีการดําเนินการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ใหมีประสิทธิภาพเพื่อใหเกิดผลกระทบนอยที่สุดแบงเปน

                                                              รูปโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
                                 

ตอนที่ 1 ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและการจัดการ 
การเดินเครื่องโรงไฟฟาเพื่อผลิตกระแสไฟฟา อาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในดานตาง ๆ เชน ผลกระทบทางอากาศเกิดจากกาซพิษ ซึ่งเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิง ผลกระทบทางเสียงเกิด จากเสียงของการเดินเครื่องจักร ผลกระทบทางน้ําเกิดจากอุณหภูมิและสารเคมี เปนตน ดังนั้น โรงไฟฟาจึงตองมีระบบการจัดการเพื่อใหอยูในเกณฑมาตรฐานหรือเปนไปตามมาตรฐานที่ กฎหมายกําหนด และไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม  
  
            1. ดานอากาศ ผลกระทบดานอากาศ ถือเปนผลกระทบที่สําคัญที่สุดที่โรงไฟฟาตองคํานึงถึง  โดย ระดับของผลกระทบขึ้นอยูกับชนิดของเชื้อเพลิงที่ใชในโรงงานไฟฟา ถาเปนโรงไฟฟาพลังน้ําหรือ พลังงานทดแทน เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม  จะไมกอใหเกิดมลพิษ  ถาเปนโรงไฟฟาที่มี การเผาไหมของเชื้อเพลิง จะกอใหเกิดมลพิษทางอากาศที่สําคัญ ไดแก ซัลเฟอรไดออกไซด ไนโตรเจนออกไซด กาซโอโซนในระดับพื้นดิน คารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด และฝุน ละออง การจัดการสิ่งแวดลอมดานอากาศ เปนการจัดการดานคุณภาพอากาศของโรงไฟฟา เพื่อลดกาซที่เปนพิษตอสุขภาพอนามัยและชุมชน โดยมีวิธีการดังนี้ 1) การลดกาซซัลเฟอรไดออกไซดทําโดยติดตั้งเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรได ออกไซด (Flue Gas Desulfurization : FGD) ซึ่งวิธีการนี้จะสามารถลดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ไดรอยละ 80 – 90  2) การลดกาซไนโตรเจนออกไซดกระบวนการที่ใชกันแพรหลายและมี ประสิทธิภาพสูงคือ Selective Catalytic Reduction (SCR) และเลือกใชเตาเผาที่สามารถลดการ เกิดไนโตรเจนออกไซด (Low Nitrogen Oxide Burner) 3) การลดกาซคารบอนมอนอกไซดทําไดโดยการเช็คอุปกรณเครื่องเผาไหมเปน ประจํา และควบคุมการเผาไหมใหมีปริมาณออกซิเจนที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณ 4) การลดกาซคารบอนไดออกไซด โดยการรวบรวมและกักเก็บกาซ คารบอนไดออกไซดไวใตดินหรือน้ํา เชน ในแหลงน้ํามันหรือกาซธรรมชาติที่สูบออกมาหมดแลว หรืออาจนํากาซคารบอนไดออกไซดไปใชในกระบวนการอุตสาหกรรม  5) การลดฝุนละอองโดยการใชอุปกรณกําจัดฝุนละออง ไดแก เครื่องดักฝุนดวยไฟฟา สถิต (Electrostatic Precipitator) เปนการกําจัดฝุนละอองโดยใชหลักการไฟฟาสถิต ซึ่งระบบนี้ ถือวามีประสิทธิภาพสูงมากในการดักจับฝุนเครื่องแยกฝุนแบบลมหมุน (Cyclone Separator) เปนการกําจัดฝุนละอองโดยใชหลักของแรงเหวี่ยง และเครื่องกรองฝุนแบบถุงกรอง (Bag Filter) เปนอุปกรณที่มีถุงกรองเปนตัวกรองแยกฝุนละอองออกจากกาซที่เกิดจากการเผาไหมถานหิน นอกจากนี้ในดานคุณภาพอากาศ โรงไฟฟาควรมีระบบตรวจวัดปริมาณสารเจือปน จากปลองโรงไฟฟาแบบอัตโนมัติอยางตอเนื่อง (Continuous Emission Monitoring Systems: CEMs) เพื่อตรวจติดตามและเฝาระวังสิ่งผิดปกติตาง ๆ เชน ปริมาณของมลพิษเกินมาตรฐานจะได หาสาเหตุและหาทางแกไข เพื่อใหคาตาง ๆ กลับมาปกติเหมือนเดิม ควรมีการจัดเก็บขอมูลทุกวัน และติดตั้งเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไปแบบตอเนื่อง (Ambient Air Quality Monitoring Systems: AAQMs) เพื่อวัดคุณภาพอากาศในบริเวณพื้นที่ชุมชนรอบโรงไฟฟาโดยทํา การเก็บขอมูลอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ตองควบคุมคุณภาพอากาศที่ปลอยออกจากปลองโรงไฟฟาใหอยู ในเกณฑมาตรฐานและเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ 
              2. ดานน้ํา ผลกระทบดานน้ํา น้ําที่ใชในกระบวนการผลิตไฟฟาจะมีการเติมสารเคมีบางอยาง เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของน้ําใหเหมาะสมสําหรับนํามาใชกับอุปกรณตาง ๆ ในโรงไฟฟารวมไปถึง น้ําหลอเย็นที่ใชสําหรับระบายความรอนใหกับระบบตาง ๆ ภายในโรงไฟฟาก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น กวาแหลงน้ําในธรรมชาติ ซึ่งหากน้ําเหลานี้ถูกปลอยออกจากโรงไฟฟาลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ เชน แมน้ํา ลําคลอง เปนตน โดยไมผานกระบวนการจัดการบําบัดฟนฟูน้ําที่ดีอาจสงผลกระทบตอพืช และสัตวน้ําที่อาศัยอยูรอบ ๆ ได การจัดการสิ่งแวดลอมดานน้ํา โรงไฟฟาตองมีมาตรการจัดการน้ําเสียที่มาจาก กระบวนการผลิตไฟฟา และจากอาคารสํานักงานตามลักษณะหรือประเภทของน้ําเสีย โดยคุณภาพ น้ําทิ้งตองมีการควบคุมใหครอบคลุมทั้งเรื่องของเสียและอุณหภูมิ ดังนี้ 1) การควบคุมอุณหภูมิของน้ํากอนที่จะปลอยสูแหลงน้ําสาธารณะ โดยน้ําจากทอหลอเย็น เมื่อน้ําทิ้งมีความขุนในระดับหนึ่งจะถูกระบายออกไปสูบอพักน้ําที่ 1 เพื่อใหตกตะกอน และลดอุณหภูมิลงเหลือประมาณ 28 - 30 องศาเซลเซียสทิ้งไวเปนเวลาอยางนอย 24 ชั่วโมง จากนั้นจึงระบายออกสูบอพักที่ 2 เพื่อปรับสภาพน้ําใหมีอุณหภูมิใกลเคียงกับธรรมชาติ ซึ่งกรม ชลประทานไดกําหนดมาตรฐานไวที่ระดับ 33 องศาเซลเซียส กอนปลอยออกสูคลองระบายน้ํา ธรรมชาติ 2) การจัดการสารเคมีตาง ๆ ที่อยูภายในน้ํากอนปลอยสูสิ่งแวดลอม ทําโดยการกักน้ํา ไวในบอปรับสภาพน้ําเพื่อบําบัดใหมีสภาพเปนกลางและมีการตกตะกอน หรือเติมคลอรีนเพื่อฆา เชื้อโรค นอกจากนี้ในโรงไฟฟาควรมีระบบเฝาระวังคุณภาพน้ํา ไดแก การตรวจวัดคุณภาพน้ํา ที่ระบายออกจากโรงไฟฟาอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวาคุณภาพน้ําที่จะปลอยออกสูธรรมชาตินั้น มีคุณภาพอยูในเกณฑมาตรฐานและเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ  
  
          3.ดานเสียง ผลกระทบดานเสียง เกิดจากกิจกรรมของโรงไฟฟาที่สําคัญจะมาจากหมอไอน้ํา เครื่องกําเนิดไฟฟากังหันกาซ และพาหนะที่เขามาในพื้นที่โรงไฟฟา  การจัดการสิ่งแวดลอมเสียง เกิดจากกิจกรรมของโรงไฟฟาที่สําคัญจะมาจากหมอไอ น้ํา เครื่องกําเนิดไฟฟากังหันกาซ และพาหนะที่เขามาในพื้นที่โรงไฟฟา ดวยเหตุนี้โรงไฟฟาควร กําหนดมาตรการควบคุมระดับเสียงไว ดังนี้ 1) กิจกรรมที่กอใหเกิดเสียงรบกวนชุมชนในเวลากลางคืน ตองมีระดับเสียงไมเกิน 85 เดซิเบล ในระยะ 1 เมตรจากจุดกําเนิดเสียง ตามมาตรฐานขอกําหนดความดังของเสียงจากโรงงาน อุตสาหกรรมเพื่อไมใหเปนที่รบกวนตอผูอยูอาศัยโดยรอบโรงไฟฟา 2) ติดตั้งอุปกรณควบคุมเสียงภายในโรงไฟฟาชวงเดินเครื่องผลิตไฟฟาและติดตั้ง อุปกรณดูดซับเสียงแบบเคลื่อนที่ขณะทําความสะอาดทอที่เครื่องกังหันไอน้ํา เพื่อควบคุมความดัง ของเสียงใหอยูในมาตรฐานไมเกิน 85 เดซิเบล นอกจากนี้ในโรงไฟฟาควรทําการตรวจวัดเสียงอยางสม่ําเสมอ โดยกําหนดจุดตรวจวัด เสียงทั้งภายในโรงไฟฟา และชุมชนรอบโรงไฟฟาไว 3 จุด โดยตรวจวัดตามแผนที่กําหนดไว เชน ตรวจครั้งละ 3 วัน ติดตอกันทุก 3 เดือน และทําการกอสรางแนวปองกันเสียง (Noise Barrier) โดยการปลูกตนไมรอบพื้นที่โรงไฟฟา  
ตอนที่ 2 ขอกําหนดและกฎหมายที่เกี่ยวของกบัโรงไฟฟาดานสิ่งแวดลอม พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 กําหนดให จัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สําหรับโครงการ หรือกิจการแตละประเภทและ แตละขนาดขึ้น ตามหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอมที่กําหนดโดยสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม  โครงการกอสรางโรงไฟฟา ที่มีขนาดตั้งแต 10 เมกะวัตตขึ้นไป จะตองจัดทํารายงานการ วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) และ การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพ (EHIA) ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาด ของโครงการหรือกิจการ โดยตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม             ตามหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอม 
1. การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment : EIA) EIA (Environmental Impact Assessment) เปนวิธีการอยางหนึ่งที่ใชเพื่อจําแนก และคาดคะเนผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากโครงการหรือกิจกรรม ตลอดจนเสนอแนะมาตรการ ในการแกไขผลกระทบ (Mitigation Measure) และแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม (Monitoring) ทั้งในระหวางการกอสรางและดําเนินโครงการในการจัดทํารายงานสําหรับโครงการ หรือกิจการทุกประเภทที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) จะตองเสนอ รายละเอียดของขอมูลเฉพาะที่จะเปนประโยชนตอการวิเคราะหผลกระทบจากแตละประเภท โครงการดวย  องคประกอบของ EIA การจัดทํา EIA ประกอบดวย การศึกษาครอบคลุมระบบสิ่งแวดลอม 4 ดาน คือ 1) ทรัพยากรกายภาพ เปนการศึกษาถึงผลกระทบ เชน ดิน น้ํา อากาศ เสียง เปนตน วาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางไร 2) ทรัพยากรชีวภาพ การศึกษาความเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ที่มีตอระบบนิเวศน เชน ปาไม สัตวปา  สัตวน้ํา ปะการัง เปนตน 3) คุณคาการใชประโยชนของมนุษย เปนการศึกษาถึงการใชประโยชนจาก ทรัพยากรทั้งทางกายภาพ และชีวภาพของมนุษย เชน การใชประโยชนที่ดิน เปนตน 4) คุณคาตอคุณภาพชีวิต ซึ่งจะเปนการศึกษาถึงผลกระทบที่จะเกิดตอมนุษย ชุมชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ คานิยม รวมถึง ทัศนียภาพ คุณคา ความสวยงาม หลักการและวิธีการ EIA 1) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม กอนตัดสินใจพัฒนาโครงการ 2) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม เปนการศึกษาเฉพาะกรณี เพื่อใชสําหรับ                   การตัดสินใจพัฒนาโครงการใดโครงการหนึ่ง 3) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม เปนการศึกษาปญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ของโครงการพัฒนา 4) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม เปนการศึกษาปญหาหลาย ๆ แงมุม เพื่อ วิเคราะห หาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น 5) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ตองอาศัยหลักการปองกันสิ่งแวดลอม        2 ประการ คือ การวางแผนการใชที่ดิน และการควบคุมมลพิษ  
ดังนั้น ในกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม นอกจากจะแสดงใหเห็น ผลกระทบอันเกิดจากการดําเนินโครงการแลว ยังเนนใหมีการปองกันดานสิ่งแวดลอมเขาไปทุก ขั้นตอนของการวางแผนและออกแบบโครงการ ดวยหลักการก็คือ ใหมีการปองกันไวกอน นั่นคือ ใหมีการพิจารณาทางเลือกของโครงการเพื่อที่จะสามารถเปรียบเทียบ พิจารณาทางเลือกที่มี ผลกระทบทางลบนอยที่สุด และใหประโยชนหรือผลกระทบในทางบวกมากที่สุด 
    

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น