วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

แบบทดสอบหลังเรียน

แบบทดสอบก่อนเรียน

1.2 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย

                หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับไฟฟ้าในประเทศไทยตั้งแต่ระบบผลิต ระบบส่งจ่ายจนถึง
ระบบจำหน่ายให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ภาคส่วน คือ
     1) ภาครัฐ ได้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(กฟภ.) และการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)
     2) ภาคเอกชน มีเฉพาะระบบผลิตไฟฟ้าเท่านั้น เช่น บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้งจำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) เป็นต้น
                นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระที่ทำหน้าที่กำกับกิจการไฟฟ้าและกิจการก๊าซธรรมชาติภายใต้กรอบนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงพลังงาน


     1. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
         การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคมพ.ศ. 2512 โดยรัฐบาลได้รวมรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบในการจัดหาไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ การลิกไนท์ (กลน.)การไฟฟ้ายันฮี (กฟย.) และการไฟฟ้าตะวันออกเฉียงเหนือ (กฟ.อน.) เป็นหน่วยงานเดียวกัน คือ“การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย” มีชื่อย่อว่า “กฟผ.” มีนายเกษม จาติกวณิช เป็นผู้ว่าการคนแรก
         กฟผ. เป็นรัฐวิสาหกิจด้านกิจการพลังงานภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงพลังงาน
และกระทรวงการคลัง มีภารกิจในการจัดหาพลังงานไฟฟ้าให้แก่ประชาชน โดยการผลิต จัดส่ง และ
จำหน่ายพลังงานไฟฟ้าให้แก่การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และผู้ใช้ไฟฟ้ารายอื่น ๆ
ตามที่กฎหมายกำหนด รวมทั้งประเทศใกล้เคียง พร้อมทั้งธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการไฟฟ้า
ภายใต้กรอบพระราชบัญญัติ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยระบบผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.
ประกอบด้วยโรงไฟฟ้า 5 ประเภท คือ โรงไฟฟ้าพลังความร้อน โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน และโรงไฟฟ้าดีเซล
         นอกจากการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. แล้ว กฟผ. ยังรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิต
ไฟฟ้าเอกชน รวมทั้งรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว และมาเลเซีย ซึ่ง
ดำเนินการจัดส่งไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. รวมถึงที่รับซื้อจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายอื่นผ่าน
ระบบส่งไฟฟ้าของ กฟผ. ซึ่งมีโครงข่ายครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อจำหน่ายไฟฟ้าให้แก่ การไฟฟ้า
นครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ผู้ใช้ไฟฟ้าที่รับซื้อโดยตรง และประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ลาว
เมียนมาร์ และกัมพูชา

Call center
ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
หมายเลข 1416

     2. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
         การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เป็นรัฐวิสาหกิจด้านสาธารณูปโภค สังกัดกระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2503 โดยรับโอนทรัพย์สิน หนี้สิน และความรับผิดชอบขององค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในขณะนั้นมาดำเนินการอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจในการผลิต จัดให้ได้มา จัดส่งจัดจำหน่ายและการบริการด้านพลังงานไฟฟ้าให้แก่ประชาชน ธุรกิจ และอุตสาหกรรมต่างๆในเขตจำหน่าย 74 จังหวัดทั่วประเทศ ยกเว้น กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ
         การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร มีหน้าที่กำหนดนโยบาย
และแผนงาน ให้คำแนะนำ ตลอดจนจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้หน่วยงานในส่วนภูมิภาค สำหรับ
ในส่วนภูมิภาค แบ่งการบริหารงานออกเป็น 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลางและภาคใต้ แต่ละภาคแบ่งออกเป็นเขต รวมเป็น 12 การไฟฟ้าเขต มีหน้าที่ควบคุมและ
ให้คำแนะนำแก่สำนักงานการไฟฟ้าต่าง ๆ ในสังกัดรวม 894 แห่ง ในความรับผิดชอบ 74  จังหวัดทั่วประเทศ ได้แก่ การไฟฟ้าจังหวัด 74 แห่ง การไฟฟ้าอำเภอ 732 แห่ง การไฟฟ้าตำบล
88 แห่ง หากประชาชนในส่วนภูมิภาคได้รับความขัดข้องเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า
ระเบิดเสาไฟฟ้าล้ม ไฟฟ้าดับ ไฟฟ้าตก บิลค่าไฟฟ้าไม่ถูกต้อง เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมไปถึง
การขอใช้ไฟฟ้า เปลี่ยนขนาดมิเตอร์ไฟฟ้า สามารถติดต่อได้ที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคที่อยู่ในแต่ละ
พื้นที่ หรือติดต่อ Call Center
Call Center ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
หมายเลข 1129

     3. การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)
         การไฟฟ้านครหลวงจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2501ตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501 ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2530 และ พ.ศ. 2535เป็นรัฐวิสาหกิจประเภทสาธารณูปโภค สาขาพลังงาน สังกัดกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจในการจัดให้ได้มา จำหน่าย ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า และธุรกิจเกี่ยวเนื่องหรือที่เป็นประโยชน์แก่การไฟฟ้านครหลวง โดยมีพื้นที่เขตจำหน่ายใน 3 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ
         หากประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ได้รับความขัดข้องเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า เช่น หม้อแปลงไฟฟ้าระเบิด เสาไฟฟ้าล้ม ไฟฟ้าดับ ไฟฟ้าตก บิลค่าไฟฟ้าไม่ถูกต้อง เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการขอใช้ไฟฟ้า เปลี่ยนขนาดมิเตอร์ไฟฟ้า สามารถติดต่อได้ที่การไฟฟ้านครหลวงที่อยู่ในแต่ละพื้นที่ และมีช่องทางการติดต่อ คือ ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร และศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้า (MEA Call Center)

ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารการไฟฟ้านครหลวง
โทรศัพท์ 0-2252-8670
ศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้า (MEA Call Center)
โทรศัพท์ 1130 หรือ อีเมล์ แอดเดรส :
CallCenter@mea.or.th (ตลอด 24 ชั่วโมง)

     4. คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.)
         คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 เพื่อแยกงานนโยบายและงานกำกับดูแล ออกจากการประกอบกิจการพลังงาน โดยเปิดโอกาสให้ภาคเอกชน ชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วมและมีบทบาทมากขึ้น รวมทั้งให้การประกอบกิจการพลังงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความมั่นคง มีปริมาณเพียงพอและทั่วถึงในราคาที่เป็นธรรมและมีคุณภาพได้มาตรฐาน โดย กกพ. ทำหน้าที่กำกับกิจการไฟฟ้าและกิจการก๊าซธรรมชาติภายใต้กรอบนโยบายของรัฐ
         ในการดำเนินงานของ กกพ. มีเป้าหมายสูงสุด คือ การกำกับดูแลกิจการพลังงานไทยให้เกิดความมั่นคง และสร้างความมั่นใจให้แก่ประชาชน โดยมีการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การกำกับกิจการพลังงาน การจัดทำร่างกฎหมายลำดับรองตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการพลังงาน เช่น การเสนอร่างพระราชกฤษฎีกา การออกประกาศและระเบียบเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน ทั้งนี้ ในการออกระเบียบและประกาศที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและกำกับดูแลกิจการพลังงานที่มีผู้ได้รับผลกระทบ จะต้องดำเนินการด้านกระบวนการรับฟังความคิดเห็นด้วย การออกใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานและการอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม กำหนดโครงสร้างค่าไฟฟ้า โดยพิจารณาปรับค่าไฟฟ้าฐานและค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) สามารถติดต่อได้ ตามช่องทางต่าง ๆ

โทร: 0 2207 3599
Call Center: 1204
อีเมล์: support@erc.or.th





1.1 การกำเนิดของไฟฟ้า

การกำเนิดของไฟฟ้า
   ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของคำว่า “ไฟฟ้า” ไว้ว่า “พลังงานรูปหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการแยกตัวออกมา หรือการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือโปรตอนหรืออนุภาคอื่นที่มีสมบัติแสดงอำนาจคล้ายคลึงกับอิเล็กตรอนหรือโปรตอน ที่ก่อให้เกิดพลังงานอื่น เช่น ความร้อนแสงสว่าง การเคลื่อนที่ ”เป็นต้น โดยการกำเนิดพลังงานไฟฟ้าที่สำคัญ ๆ มี 5 วิธี ดังนี้
   1. ไฟฟ้าที่เกิดจากการเสียดสีของวัตถุ เป็นไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากการนำวัตถุต่างกัน 2 ชนิด
มาขัดสีกัน เช่น จากแท่งยางกับผ้าขนสัตว์ เนื่องจากเกิดการถ่ายเทประจุไฟฟ้า วัตถุทั้งสองจะแสดงศักย์ไฟฟ้าออกมาต่างกัน วัตถุชนิดหนึ่งแสดงศักย์ไฟฟ้าบวก (+) ออกมา วัตถุอีกชนิดหนึ่งแสดงศักย์ไฟฟ้าลบ (-) ออกมา ซึ่งเรียกว่า“ไฟฟ้าสถิต”ดังภาพ

   2. ไฟฟ้าที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมี เป็นไฟฟ้าที่เกิดจากการนำโลหะ 2 ชนิดที่แตกต่างกัน โลหะทั้งสองจะทำปฏิกิริยาเคมีกับสารละลายอิเล็กโทรไลท์ ซึ่งปฏิกิริยาทางเคมีแบบนี้เรียกว่า “โวลตาอิกเซลล์” เช่น สังกะสีกับทองแดงจุ่มลงในสารละลายอิเล็กโทรไลท์ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีทำให้เกิดไฟฟ้าดังตัวอย่างในแบตเตอรี่ และถ่านอัลคาไลน์ (ถ่านไฟฉาย)


   3. ไฟฟ้าที่เกิดจากความร้อน เป็นไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากการนำแท่งโลหะหรือแผ่นโลหะต่างชนิดกัน 2 แท่ง โดยนำปลายด้านหนึ่งของโลหะทั้งสองต่อติดกันด้วยการเชื่อมหรือยึดด้วยหมุดปลายที่เหลืออีกด้านนำไปต่อกับมิเตอร์วัดแรงดัน เมื่อให้ความร้อนที่ปลายด้านต่อติดกันของโลหะทั้งสอง ส่งผลให้เกิดการแยกตัวของประจุไฟฟ้าเกิดศักย์ไฟฟ้าขึ้นที่ปลายด้านเปิดของโลหะ แสดงค่าออกมาที่มิเตอร์


   4.ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยสามารถสร้างเซลล์แสงอาทิตย์(Solar Cell) ที่ทำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิดใช้พลังงานแสงอาทิตย์ได้ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่องคิดเลข เป็นต้น แต่ค่าใช้จ่ายในการผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ค่อนข้างสูง

   5. ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ได้มาจากพลังงานแม่เหล็กโดยวิธีการใช้ลวดตัวนำไฟฟ้าตัดผ่านสนามแม่เหล็ก หรือการนำสนามแม่เหล็กวิ่งตัดผ่านลวดตัวนำอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งสองวิธีนี้จะทำให้มีกระแสไฟฟ้าไหลในลวดตัวนำนั้น กระแสที่ผลิตได้มีทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ


2.1 เชื้อเพลิงและพลังงาน

เรื่องที่ 1 เชื้อเพลิงและพลังงานที่ใชในการผลิตไฟฟา

            พลังงานไฟฟาเปนพลังงานรูปหนึ่งที่มีความสําคัญและมีการใชงานกันมาอยางยาวนาน โดยสามารถผลิตไดจากเชื้อเพลิงตาง ๆ ไดแก เชื้อเพลิงฟอสซิลและพลังงานทดแทน ปจจุบันมีการใชพลังงานไฟฟาเพิ่มมากขึ้นทําใหตองมีการแสวงหาเชื้อเพลิงชนิดตางๆใหเพียงพอตอความตองการโดยแตละประเทศมีสัดสวนการใชเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาแตกตางกันไปตามศักยภาพของประเทศนั้น ๆ อยางไรก็ตามการผลิตกระแสไฟฟายังตองคํานึงถึงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมจึงตองมีการจัดการและแนวทางปองกันที่เหมาะสมภายใตขอกําหนดและกฎหมาย แบงเปน 5 ตอน ดังนี้

              ตอนที่ 1 เชื้อเพลิงฟอสซิล
              ตอนที่ 2 พลังงานทดแทน
              ตอนที่ 3 พลังงานทดแทนในชุมชน
              ตอนที่ 4 ตนทุนการผลิตพลังงานไฟฟาตอหนวยจากเชื้อเพลิงแตละประเภท
              ตอนที่ 5 ขอดีและขอจํากัดของการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงแตละประเภท

ตอนที่ 1 เชื้อเพลิงฟอสซิล เชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) หมายถึง เชื้อเพลิงที่เกิดจากซากพืช ซากสัตวที่ทับถม จมอยูใตพื้นพิภพเปนเวลานานหลายรอยลานปโดยอาศัยแรงอัดของเปลือกโลกและความรอนใตผิว โลกมีทั้งของแข็ง ของเหลวและกาซ เชน ถานหินน้ํามัน กาซธรรมชาติ เปนตน แหลงพลังงานนี้เปน แหลงพลังงานที่สําคัญในการผลิตไฟฟาในปจจุบันสําหรับประเทศไทยไดมีการนําเอาพลังงาน ฟอสซิลมาใชในการผลิตไฟฟาประมาณรอยละ 90  1. ถานหิน (Coal)  ถานหิน เปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่อยูในสถานะของแข็ง เกิดจากการทับถมกัน ของซากพืชในยุคดึกดําบรรพ ถานหินมีปริมาณ
มากกวาเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดอื่น ๆ และมีแหลงกระจายอยูประมาณ 70 ประเทศทั่วโลก เชน อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย แอฟริกา เปนตน จากการ คาดการณปริมาณถานหินที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวา ถานหินในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 110 ป และถานหินใน ประเทศไทยมีเหลือใชอีก 69 ป ซึ่งถานหินที่นํามาเปนเชื้อเพลิงสําหรับการผลิตกระแสไฟฟา ไดแก ลิกไนต ซับบิทูมินัส บิทูมินัส ถานหินสวนใหญที่พบในประเทศไทยเปนลิกไนตที่มีคุณภาพต่ํา ปริมาณสํารองสวน ใหญที่นํามาใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาอยูที่เหมืองแมเมาะ จังหวัดลําปาง ในป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีการผลิตไฟฟาดวยถานหินรอยละ 18.96 ซึ่งมาจากถานหิน ภายในประเทศและบางสวนนําเขาจากตางประเทศ โดยนําเขาจากอินโดนีเซียมากที่สุด กระบวนการผลิตไฟฟาจากถานหิน การผลิตไฟฟาดวยถานหิน เริ่มจากการขนสงถานหินจากลานกองถานหินไปยังยุงถาน จากนั้นถานหินจะถูกลําเลียงไปยังเครื่องบด เพื่อบดถานหินใหเปนผงละเอียดกอนที่จะถูกพน เขาไปเผายังหมอไอน้ํา เมื่อถานหินเกิดการเผาไหมก็จะถายเทความรอนใหแกน้ํา ทําใหน้ํารอนขึ้นจนเกิดไอน้ําจะมีความดันสูงสามารถขับใบพัดกังหันไอน้ําทําใหกังหันไอน้ําหมุนโดยแกนของกังหัน ไอน้ําเชื่อมตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาจึงทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาทํางาน สามารถผลิตกระแสไฟฟาออกมาได


          2. น้ํามัน (Petroleum Oil)


              น้ํามันเปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่มีสถานะเปนของเหลว  เกิดจากซากสัตวและ ซากพืชทับถมเปนเวลาหลายรอยลานป พบมากในภูมิภาคตะวันออกกลาง สําหรับประเทศไทย มีแหลงน้ํามันดิบจากแหลงกลางอาวไทย เชน แหลงเบญจมาศ แหลงยูโนแคล แหลงจัสมิน   เปนตน และแหลงบนบก ไดแก แหลงสิริกิติ์ อําเภอลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร จากการ คาดการณปริมาณน้ํามันที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวาน้ํามันในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 52.5 ป และน้ํามันในประเทศ ไทยมีเหลือใชอีก 2.8 ป น้ํามันที่ใชในการผลิตไฟฟามี 2 ประเภท คือ น้ํามันเตาและน้ํามันดีเซลในป พ.ศ. 2558 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ใชน้ํามันผลิตไฟฟาในสัดสวนเพียงรอยละ 1 เทานั้น เนื่องจากมีตนทุนการผลิตสูงสําหรับการใชน้ํามันมาผลิตไฟฟานั้นมักจะใชเปน เชื้อเพลิงสํารองในกรณีที่เชื้อเพลิงหลัก เชน กาซธรรมชาติ มีปญหาไมสามารถนํามาใชได เปนตน กระบวนการผลิตไฟฟาจากน้ํามัน 1) การผลิตไฟฟาจากน้ํามันเตาใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงใหความรอนไปตมน้ํา เพื่อ ผลิตไอน้ําไปหมุนกังหันไอน้ําที่ตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา  2) การผลิตไฟฟาจากน้ํามันดีเซล มีหลักการทํางานเหมือนกับเครื่องยนตในรถยนต ทั่วไป ซึ่งจะอาศัยหลักการสันดาปของน้ํามันดีเซลที่ถูกฉีดเขาไปในกระบอกสูบของเครื่องยนตที่ถูก อัดอากาศจนมีอุณหภูมิสูง และเกิดระเบิดดันใหลูกสูบเคลื่อนที่ลงไปหมุนเพลาขอเหวี่ยงซึ่งตอกับ
30  เพลาของเครื่องยนต ทําใหเพลาของเครื่องยนตหมุน และทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาซึ่งตอกับเพลา ของเครื่องยนตหมุนตามไปดวยจึงเกิดการผลิตไฟฟาออกมา


        3. กาซธรรมชาติ (Natural Gas)


            กาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลที่มีสถานะเปนกาซ ซึ่งเกิดจากการทับถม ของซากสัตวและซากพืชมานานนับลานป พบมากในภูมิภาคตะวันออกกลาง จากการคาดการณ ปริมาณกาซธรรมชาติที่พิสูจนแลว ขอมูล ณ ป พ.ศ. 2557 จาก BP Statistical Review of World Energy คาดวา กาซธรรมชาติในโลกจะมีเพียงพอตอการใชงานไปอีก 54.1 ป และกาซ ธรรมชาติในประเทศไทยมีเหลือใชอีก 5.7 ป กระบวนการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติ  เริ่มตนดวยกระบวนการเผาไหมกาซธรรมชาติ  ในหองสันดาปของกังหันกาซที่มี ความรอนสูงมาก เพื่อใหไดกาซรอนมาขับกังหัน ซึ่งจะไปหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา จากนั้นจะนํากาซ รอนสวนที่เหลือไปผลิตไอน้ําสําหรับใชขับเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบกังหันไอน้ํา สําหรับไอน้ําสวนที่
31
เหลือจะมีแรงดันต่ําก็จะผานเขาสูกระบวนการลดอุณหภูมิ เพื่อใหไอน้ําควบแนนเปนน้ําและ      นํากลับมาปอนเขาระบบผลิตใหมอยางตอเนื่อง

ตอนที่ 2 พลังงานทดแทน พลังงานทดแทน (Alternative Energy) 
              ตามความหมายของกระทรวงพลังงานคือ พลังงานที่นํามาใชแทนน้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งเปนพลังงานหลักที่ใชกันอยูทั่วไปในปจจุบันพลังงาน ทดแทนที่สําคัญ เชน พลังงานน้ํา พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานจากชีวมวล และพลังงานนิวเคลียร เปนตน ปจจุบันทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศไทย กําลังเผชิญกับปญหาดานพลังงานเชื้อเพลิง ฟอสซิล เชน น้ํามัน กาซธรรมชาติ เปนตน ทั้งในดานราคาที่สูงขึ้น และปริมาณที่ลดลงอยาง ตอเนื่อง นอกจากนี้ปญหาสภาวะโลกรอนซึ่งสวนหนึ่งมาจากการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มากขึ้นอยาง ตอเนื่องตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการกระตุนใหเกิดการคิดคนและ พัฒนาเทคโนโลยีที่ใชพลังงานชนิดอื่น ๆ ขึ้นมาทดแทนซึ่งพลังงานทดแทนเปนพลังงานชนิดหนึ่งที่ ไดรับความสนใจ และภาครัฐไดมีนโยบายสงเสริมใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีดานพลังงานทดแทน อยางกวางขวางในประเทศ เนื่องจากเปนพลังงานที่ใชแลวไมทําลายสิ่งแวดลอม โดยพลังงานทดแทนที่สําคัญและใชกันอยูในปจจุบัน ไดแก ลม น้ํา แสงอาทิตย ชีวมวล ความรอนใตพิภพ และนิวเคลียร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. พลังงานลม การผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานลมจะใชกังหันลมเปนอุปกรณในการเปลี่ยน พลังงานลมเปนพลังงานไฟฟา โดยจะตอใบพัดของกังหันลมเขากับเครื่องกําเนิดไฟฟา เมื่อลมพัด มาปะทะจะทําใหใบพัดหมุน แรงจากการหมุนของใบพัดจะทําใหแกนหมุนที่เชื่อมอยูกับเครื่อง กําเนิดไฟฟาหมุน เกิดการเหนี่ยวนําและไดไฟฟาออกมา อยางไรก็ดีการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม ก็จะขึ้นอยูกับความเร็วลม สําหรับประเทศไทยมีศักยภาพพลังงานลมต่ําทําใหผลิตไฟฟาไดจํากัด ไมเต็มกําลังการผลิตติดตั้งพลังงานที่ไดรับจากกังหันลม สามารถแบงชวงการทํางานของกังหันลม ไดดังนี้
       1) ความเร็วลมต่ําในชวง 1 - 3 เมตรตอวินาที กังหันลมจะยังไมทํางานจึงยัง ไมสามารถผลิตไฟฟาออกมาได
       2) ความเร็วลมระหวาง 2.5 - 5 เมตรตอวินาที กังหันลมจะเริ่มทํางาน เรียกชวงนี้ วา “ชวงเริ่มความเร็วลม” (Cut in wind speed)
       3) ความเร็วลมชวงประมาณ 12 - 15 เมตรตอวินาที เปนชวงที่เรียกวา “ชวง ความเร็วลม” (Rate wind speed) ซึ่งเปนชวงที่กังหันลมทํางานอยูบนพิกัดกําลังสูงสุด ในชวงที่ ความเร็วลมไตระดับไปสูชวงความเร็วลม เปนการทํางานของกังหันลมดวยประสิทธิภาพสูงสุด (Maximum rotor efficiency) 4) ชวงที่ความเร็วลมสูงกวา 25 เมตรตอวินาที กังหันลมจะหยุดทํางาน เนื่องจาก ความเร็วลมสูงเกินไป ซึ่งอาจทําใหเกิดความเสียหายตอกลไกของกังหันลมได เรียกวา “ชวงเลย ความเร็วลม” (Cut out wind speed) กังหันลมขนาดใหญในปจจุบันนั้นมีขนาดเสนผานศูนยกลางของใบพัดมากกวา 65 เมตร ในขณะที่กังหันลมขนาดที่เล็กลงมามีขนาดประมาณ 30 เมตร (ซึ่งสวนมากใชอยูใน ประเทศกําลังพัฒนา) สวนเสาของกังหันมีความสูงอยูระหวาง 25 - 80 เมตร  ศักยภาพของพลังงานลมกับการผลิตพลังงานไฟฟา ศักยภาพของพลังงานลม ไดแก ความเร็วลม ความสม่ําเสมอของลม ความยาวนาน ของการเกิดลม ปจจัยตาง ๆ เหลานี้ ลวนมีผลตอการทํางานของกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟา ดังนั้นการติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาในพื้นที่ตาง ๆ จึงตองพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ดังที่ กลาวมา และตองออกแบบลักษณะของกังหันลมที่จะติดตั้ง ไดแก รูปแบบของใบพัด วัสดุที่ใชทํา ใบพัด ความสูงของเสาที่ติดตั้งกังหันลม ขนาดของเครื่องกําเนิดไฟฟา และระบบควบคุมใหมี ลักษณะที่สอดคลองกับศักยภาพของพลังงานลมในพื้นที่นั้น ๆ ปจจุบันมีการติดตั้งเครื่องวัดความเร็วลมในพื้นที่ตาง ๆ ของประเทศไทย เพื่อหา ความเร็วลมในแตละพื้นที่ ซึ่งแผนที่แสดงความเร็วลมมีประโยชนมากมาย เชน ใชพิจารณากําหนด

ตําแหนงสถานที่สําหรับติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟา ใชออกแบบกังหันลมใหมี ประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด ใชประเมินพลังงานไฟฟาที่กังหันลมจะสามารถผลิตได และนํามาใช วิเคราะหและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานลมในดานตาง ๆ ใหมีความเหมาะสมกับศักยภาพของ พลังงานลม เปนตน
     

     2. พลังงานน้ํา
         
         การผลิตไฟฟาจากพลังงานน้ําโดยการปลอยน้ําจากเขื่อนใหไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ํา เมื่อน้ําไหลลงมาปะทะกับกังหันน้ําก็จะทําใหกังหันหมุนแกนของเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ถูกตออยูกับ กังหันน้ําดังกลาวก็จะหมุนตาม เกิดการเหนี่ยวนําและไดไฟฟาออกมา จากนั้นก็ปลอยน้ําใหไหลสู แหลงน้ําตามเดิม แตประเทศไทยสรางเขื่อนโดยมีวัตถุประสงคหลักคือการกักเก็บน้ําไวใชใน การเกษตร ดังนั้นการผลิตไฟฟาดวยพลังงานน้ําจากเขื่อนจึงเปนเพียงผลพลอยไดเทานั้น
                         


         3. พลังงานแสงอาทิตย
             การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยใชเซลลแสงอาทิตย (Solar Cell) ซึ่งเปน สิ่งประดิษฐทางอิเล็กทรอนิกสชนิดหนึ่งทํามาจากสารกึ่งตัวนําพวกซิลิคอนสามารถเปลี่ยนพลังงาน แสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟาไดโดยตรง เซลลแสงอาทิตยแบงตามวัสดุที่ใชผลิตได 3 ชนิดหลักๆ คือ เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกเดี่ยว เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกรวม และเซลลแสงอาทิตยแบบ อะมอรฟส มีลักษณะดังภาพ   


ซลลแสงอาทิตยแตละชนิดจะมีประสิทธิภาพของการแปรเปลี่ยนพลังงาน แสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟาตางกัน ดังนี้ 1) เซลลแสงอาทิตยแบบผลึกเดี่ยว มีประสิทธิภาพ รอยละ 10 – 16 2) เซลลแอาทิตยแบบผลึกรวม มีประสิทธิภาพ รอยละ 10 - 14.5 3) เซลลแสงอาทิตยแบบอะมอรฟส มีประสิทธิภาพ รอยละ 4 – 9 แมพลังงานแสงอาทิตยจะเปนพลังงานสะอาดแตก็มีขอจํากัดในการผลิตไฟฟา โดย สามารถผลิตไฟฟาไดแคชวงที่มีแสงแดดเทานั้น ประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟาขึ้นอยูกับความเขมรังสีดวงอาทิตย ซึ่งจะมีคาเปลี่ยนแปลงไปตามเสนละติจูด ชวงเวลาของวัน ฤดูกาล สภาพ อากาศ

ภาพแผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตยเฉลี่ยตลอดปของประเทศไทย 


ความเขมแสงอาทิตยของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่และฤดูกาลโดย ไดรับรังสีดวงอาทิตยคอนขางสูงระหวางเดือนเมษายน และพฤษภาคม เทานั้น บริเวณที่รับรังสีดวง อาทิตยสูงสุดตลอดทั้งปที่คอนขางสม่ําเสมออยูในบริเวณจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย ศรีสะเกษ รอยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี และอุดรธานี บางสวนในภาคกลางที่จังหวัดสุพรรณบุรี ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา และลพบุรี สวนในบริเวณจังหวัดอื่น ๆ ความเขมรังสีดวงอาทิตยยังมีความไม สม่ําเสมอและมีปริมาณความเขมต่ํา ยังไมคุมคากับการลงทุนสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เพื่อหวังผลในเชิงพาณิชย ในการจัดตั้งโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทย ควรคํานึงถึงสภาพ ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศดังกลาวไปแลวขางตน เพราะโรงไฟฟพลังงานแสงอาทิตยนั้น ตองการพื้นที่มาก ในการสรางโรงไฟฟาขนาด 1 เมกะวัตต ตองใชพื้นที่มากถึง 15 -25 ไร ซึ่งหาก เลือกพื้นที่ที่ไมเหมาะสม เชน เลือกพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณของธรรมชาติ มีตนไมใหญหนาแนน อาจตองมีการโคนถางเพื่อปรับพื้นที่ใหโลง สิ่งนี้อาจเปนการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ นอกจาก จะไมชวยเรื่องภาวะโลกรอนแลวอาจสรางปจจัยที่ทําใหเกิดสภาวะโลกรอนเพิ่มขึ้นดวย  ตําแหนงที่ติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตยตองเปนตําแหนงที่สามารถรับแสงอาทิตยไดดี ตลอดทั้งวัน ตลอดทั้งป ตองไมมีสิ่งปลูกสรางหรือสิ่งอื่นใดมาบังแสงอาทิตยตลอดทั้งวัน และไมควร เปนสถานที่ที่มีฝุน หรือไอระเหยจากน้ํามันมากเกินไป เพื่อประสิทธิภาพในการแปรเปลี่ยน แสงอาทิตยเปนไฟฟา  

       4. พลังงานชีวมวล ชีวมวล (Biomass) 
หมายถึง อินทรียสารที่ไดจากสิ่งมีชีวิต ที่ผานการยอยสลาย ตามธรรมชาติ โดยมีองคประกอบพื้นฐานเปนธาตุคารบอน และธาตุไฮโดรเจน ซึ่งธาตุดังกลาวไดมา จากกระบวนการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเหลานั้น แลวสะสมไวถึงแมจะยอยสลายแลวก็ยังคงอยู ชีวมวลมีแหลงกําเนิดมาจากภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคชุมชน สําหรับประเทศไทยซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม ทําใหมีผลผลิตและวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร  ในอดีตชีวมวลสวนใหญจะถูกทิ้งซากใหเปนปุยอินทรียหรือเผาทําลายโดยเปลาประโยชน อีกทั้งยังเปนการสรางมลพิษใหกับสิ่งแวดลอม อันที่จริงแลวผลผลิตและวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ดังกลาวมีคุณสมบัติเปนเชื้อเพลิงไดอยางดี ซึ่งใหความรอนในปริมาณสูง สามารถนํามาใชประโยชน ในการผลิตพลังงานทดแทนได หรือนํามาใชโดยผานกระบวนการแปรรูปใหเปนเชื้อเพลิงที่อยูใน สถานะตาง ๆ ไดแก ของแข็ง ของเหลว และกาซ เรียกวา “พลังงานชีวมวล” ชีวมวล สามารถนําไปใชเปนแหลงพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Source) ทั้งในรูปของเชื้อเพลิงที่ใหความรอนโดยตรง และเปลี่ยนรูปเปนพลังงานไฟฟา อีกทั้งยัง สามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบ (Materials) สําหรับผลิตภัณฑอื่น ๆ ที่ไมใชพลังงานไดดวย เชน อาหาร ปุย เครื่องจักสาน เปนตน




ผลผลิตทางการเกษตรที่มีวัสดุเหลือทิ้งสามารถนํามาใชเปนแหลงพลังงานชีวมวลได ดังตัวอยางตอไปนี้ ชีวมวลที่ไดจากพืชชนดิตาง ๆ ชนิดของพืช ชีวมวล ขาว แกลบ ฟาง ขาวโพด ลําตน ยอด ใบ ซัง ออย ยอดใบ กาก สับปะรด ตอ ซัง มันสําปะหลัง ลําตน เหงา ถั่วเหลือง ลําตน เปลือก ใบ มะพราว กะลา เปลือก กาบ กาน ใบ ปาลมน้ํามัน กาน ใบ ใย กะลา ทะลาย ไม เศษไม ขี้เลื่อย ราก ชีวมวลในทองถิ่นหรือชุมชนแตละชุมชนอาจไมเหมือนกันขึ้นอยูกับพื้นที่ในแตละ ทองถิ่นวามีชีวมวลชนิดใดบางที่สามารถแปรรูปเปนพลังงานหรือนํามาใชประโยชนได เชน พื้นที่ที่มีการปลูกขาวมากจะมีแกลบที่ไดจากการสีขาวเปลือก สามารถนํามาใชเปนเชื้อเพลิง ใชผสมลงใน ดินเพื่อปรับสภาพดินกอนเพาะปลูก หรือในพื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตวมากทําใหมีมูลสัตว สามารถ นํามาใชผลิตกาซชีวภาพและทําเปนปุย เปนตน  ปจจุบันในประเทศไทยมีการผลิตไฟฟาโดยใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิงกันอยาง แพรหลายซึ่งมีหลักการทํางานจําแนกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) โรงไฟฟาพลังความรอนชีวมวล การผลิตไฟฟาจากชีวมวลสวนใหญเลือกใชระบบการเผาไหมโดยตรง (DirectFired) โดยชีวมวลจะถูกสงไปยังหมอไอน้ํา (Boiler) หมอไอน้ําจะมีการเผาไหมทําใหน้ํารอนขึ้นจน เกิดไอน้ํา ตอจากนั้นไอน้ําถูกสงไปยังกังหันไอน้ํา เพื่อปนกังหันที่ตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา ทําให ไดกระแสไฟฟาออกมา 

         5. พลังงานความรอนใตพิภพ 
       พลังงานความรอนใตพิภพเปนพลังงานความรอนตามธรรมชาติที่ไดจากแหลงความ รอนที่ถูกกักเก็บอยูภายใตผิวโลก  แหลงพลังงานความรอนใตพิภพจะตั้งอยูในบริเวณที่เรียกวา “จุดรอน” (Hot Spots) มักตั้งอยูในบริเวณที่เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่เขตที่ภูเขาไฟยังคุกรุน    และบริเวณที่มีชั้นของเปลือกโลกบาง ซึ่งทั้งหมดนี้ปรากฏใหเห็นในรูปของบอน้ําพุรอนไอน้ํารอน และบอโคลนเดือด   



          6. พลังงานนิวเคลียร 
              พลังงานนิวเคลียร คือ พลังงานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของ อะตอมซึ่งมนุษยไดมีการนําพลังงานนิวเคลียรมาใชประโยชนในหลายดาน เชน การแพทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการผลิตไฟฟา เปนตน การผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรเหมือนกับโรงไฟฟาพลังความรอนทั่วไป แตกตางกันที่แหลงกําเนิดความรอน โรงไฟฟาพลังความรอนจะใชการเผาไหมของเชื้อเพลิงฟอสซิล เชน ถานหิน กาซธรรมชาติ และน้ํามัน เปนตน สวนโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรใชปฏิกิริยาแตกตัว นิวเคลียสของอะตอมของเชื้อเพลิงนิวเคลียรที่เรียกวา “ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชัน” (Nuclear Fission) ผลิตความรอนในถังปฏิกรณนิวเคลียรธาตุที่สามารถนํามาใชเปนเชื้อเพลิงในโรงไฟฟา พลังงานนิวเคลียร คือ ยูเรเนียม – 235 ซึ่งเปนธาตุตัวหนึ่งที่มีอยูในธรรมชาติโดยนิวเคลียสของ เชื้อเพลิงนิวเคลียรที่จะแตกออกไดเปนธาตุใหม 2 ธาตุ พรอมทั้งใหพลังงานหรือความรอนจํานวน มหาศาลออกมา ความรอนที่เกิดขึ้นนี้สามารถนํามาใหความรอนกับน้ําจนเดือดกลายเปนไอน้ําไป หมุนกังหันไอน้ําที่ตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟาก็จะสามารถผลิตกระแสไฟฟาได

รูปโรงงานพลังงานนิวเคลียร 


ตอนที่ 3 พลงังานทดแทนในชุมชน 
         วิกฤตการณดานพลังงานไดกอตัว และมีแนวโนมทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากการ ขาดแคลนแหลงพลังงาน และผลกระทบของการใชพลังงาน ที่มีตอสภาวะสิ่งแวดลอม ดังนั้น     ทุกภาคสวนจึงตองตระหนักถึงวิกฤตการณเหลานี้ และพยายามคิดคนเพื่อหาทางออก หนทางหนึ่ง ในการแกไขวิกฤตการณดังกลาว คือ การใชพลังงานทดแทน เนื่องจากแตละทองถิ่นมีโครงสรางพื้นฐาน สภาพแวดลอมและวัตถุดิบที่จะนํามาแปลง สภาพเปนพลังงานเพื่อใชงานในทองถิ่นที่แตกตางกันออกไป ดังนั้นแตละทองถิ่น หรืออาจจะ เริ่มตนที่ครัวเรือน จะตองพิจารณาวามีอะไรบางที่มีศักยภาพ เพียงพอที่จะนํามาผลิตเปนพลังงาน เพื่อใชในครัวเรือน หรือทองถิ่นของตนเองไดบาง อาทิเชน เชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) ซึ่งเปนวัสดุ หรือสารอินทรียที่สามารถเปลี่ยนแปลงเปนพลังงานได ชีวมวลนับรวมถึงวัสดุเหลือทิ้งทาง การเกษตร เศษไม ปลายไมจากอุตสาหกรรมไม มูลสัตว ของเสียจากโรงงานแปรรูปทางการเกษตร และของเสียจากชุมชน หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร เชน แกลบ ชานออย เศษไม กากปาลม กากมันสําปะหลัง ซังขาวโพด กาบและกะลามะพราว และสาเหลา เปนตน เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) เชื้อเพลิงที่ไดจากชีวมวล (Biomass) เปนพลังงานที่ไดจาก พืชและสัตวโดยมีพื้นฐานจากการสังเคราะหแสงแลวเก็บรวบรวมพลังงานจากดวงอาทิตยเอาไว ในรูปของพลังงานเคมี หรือองคประกอบของสิ่งมีชีวิตหรือสารอินทรียตาง ๆ รวมทั้งการผลิตจากการเกษตรและปาไม เชน ไมฟน แกลบ กากออย วัสดุเหลือใชทางการเกษตรอื่น ๆ พลังงาน แสงอาทิตย พลังงานน้ําตลอดจนพลังงานลม พลังงานความรอนใตพิภพ เปนตน เมื่อครัวเรือน หรือทองถิ่นทราบศักยภาพวาตนเองมีความพรอมที่จะผลิตพลังงาน     จากแหลงใดมากที่สุดแลว ก็สามารถพิจารณาดําเนินการได โดยอาจเริ่มจากการไปศึกษาดูงาน หรือขอคําแนะนําจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน จากครัวเรือน หรือทองถิ่นที่ประสบความสําเร็จ ในการผลิตพลังงานขึ้นใชเอง หรือจากหนวยงานราชการ รวมถึงสถาบันการศึกษาตาง ๆ ซึ่งจะ           ทําใหไดแนวทางในการพัฒนาพลังงานทองถิ่นขึ้นใชเองอยางเหมาะสมและมีโอกาสประสบ ความสําเร็จสูง ชุมชนแตละชุมชนจะมีศักยภาพของแตละชุมชนแตกตางกันไปตามศักยภาพของแตละ พื้นที่ เชน พื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตวจํานวนมากก็จะมีศักยภาพในการนํามูลสัตวมาทําไบโอกาซ  หรือพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกออย หรือมันสําปะหลัง ก็จะมีศักยภาพในการนํามาทําชีวมวล เปนตน ตัวอยาง องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดใหความสําคัญกับการผลิตพลังงานทดแทนใช อยางเปนรูปธรรม    

1. พลังงานทดแทนจากกระแสลม 
            องคกรปกครองรูปแบบพิเศษอยาง "เมืองพัทยา" อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ก็มี ความตื่นตัวในการคิดหาพลังงานทดแทน คือ กังหันลมมาใช เพื่อลดการพึ่งพาน้ํามันเชนกัน โครงการนี้เกิดขึ้นเนื่องจากบนเกาะลานมีประชากรอาศัยอยู 489 ครัวเรือน หรือ ประมาณ 3,000 คน ไมรวมประชากรแฝงอีกกวา 2,000 คน และยังมีนักทองเที่ยวทั้งไทยและ ตางชาติที่หลั่งไหลเขามาพักผอนอยูบนเกาะอีกประมาณ 60,000 คนตอเดือน การผลิตไฟฟาบน เกาะยังตองพึ่งพาเครื่องปนไฟของการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ที่ตองใชน้ํามันดีเซลเปนตนทุน หลักที่มีราคาสูงขึ้นทุกวันนอกจากจะมีตนทุนการผลิตไฟสูงขึ้นเรื่อย ๆ เครื่องปนไฟแบบเดิมยังเกิด การชํารุดอยูบอยครั้งทําใหเครื่องใชไฟฟาตามบานและสถานประกอบการบนเกาะไดรับความ เสียหายจากเหตุกระแสไฟฟาตก และบางวันกระแสไฟฟาที่ผลิตไดก็ไมเพียงพอตอความตองการ ดวย  เมืองพัทยา จึงมีแนวคิดหาพลังงานรูปแบบใหมมาทดแทนน้ํามัน โดยคํานึงถึงปญหา สิ่งแวดลอมเปนสําคัญ ทั้งยังนอมนําแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในดานการ ใชพลังงานทดแทน และการพึ่งพาตัวเองอยางยั่งยืนมาใช โดยการคัดเลือกพื้นที่เกาะลานที่มีความ เหมาะสมทางสภาพภูมิประเทศ ทั้งกระแสลมและพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งสามารถผลิต กระแสไฟฟาไดทั้งป และยังเปนการชวยสงเสริมการทองเที่ยว และเปนแหลงเรียนรูพลังงาน ทดแทนอีกทางหนึ่งดวย บริเวณหาดแสมหางจากจุดเนินนมสาวประมาณ 20 เมตร คือ ทําเลที่ถูกเลือกใหเปน สถานที่ติดตั้งกังหันลม โดยแบงการดําเนินงานออกเปน 3 ระยะ ระยะละ 15 ตน รวมทั้งสิ้นมี กังหันลม 45 ตน จากการตรวจวัดความเร็วลมที่เกาะลานพบวามีความเร็วลมเฉลี่ยที่ประมาณ    4 - 5 กิโลเมตรตอวินาที ซึ่งจะทําใหระบบกังหันลมผลิตกระแสไฟฟาไดที่ 25 - 30 กิโลวัตต และ หากมีลมเฉลี่ยตอเนื่องประมาณ 10 ชั่วโมง จะทําใหระบบสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดประมาณ วันละ 200 หนวย และลดการใชน้ํามันดีเซลเพื่อผลิตกระแสไฟฟาไดถึงวันละประมาณ 200 ลิตร หรือประมาณรอยละ 20 ของปริมาณการใชน้ํามันดีเซล ขณะที่ตนทุนการผลิตไฟฟาจากกังหันลม อยูที่หนวยละ 6 บาท ซึ่งถูกกวาการใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิงถึง 3 บาท การติดตั้งกังหันลม พรอมทั้งระบบควบคุม จนเริ่มตนเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟา สําเร็จตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. 2550 โดยพลังงานที่ไดจากการหมุนของกังหันลม จะถูกเก็บ รวบรวมที่หองสํารองพลังงาน ซึ่งทําหนาที่คลายแบตเตอรี่กอนใหญที่ควบคุมการสั่งการไดทั้ง      
2 ระบบ คือ ระบบสั่งการโดยมนุษย และระบบคอมพิวเตอร ในระยะแรกกระแสไฟฟาที่ผลิตได ถูกจายเพื่อใชงานโดยตรงบริเวณทาหนาบาน บริเวณหาดแสม และกระแสไฟฟา สาธารณะตาง ๆ บนเกาะ แตในปจจุบันกระแสไฟฟาถูกจายรวมเขาสูระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค กอนที่จะกระจายตามสายสงเพื่อใชงานในชุมชนตอไป 
           
2. พลังงานทดแทนจากพลงัน้ํา 
      โรงไฟฟาพลังน้ํา ชุมชนบานคลองเรือ หมู 9 ตําบลปากทรง อําเภอพะโตะ จังหวัด ชุมพร เปนแหลงตนน้ําอยูในพื้นที่ลุมน้ําหลังสวนตอนบนในเขตรักษาพันธุสัตวปาควนแมยายหมอน สภาพพื้นที่เปนปาดิบชื้นบนภูเขาสลับซับซอน มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง มั่งคั่งดวย ทรัพยากรธรรมชาติ คลองเรือเปนชุมชนขนาดเล็ก มีประชากรอาศัยอยู 81 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 183 คน ภายในหมูบานไมมีกระแสไฟฟาในป พ.ศ. 2537 หนวยอนุรักษและจัดการตนน้ําพะโตะ กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ไดจัดทําโครงการ “คนอยู - ปายัง” ตามแนวพระราชดําริ ในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สรางการมีสวนรวมของชุมชน เพื่อสรางความ มั่นคงดานเศรษฐกิจแกชุมชนภายใตกรอบการอนุรักษสิ่งแวดลอม มีการจัดการการใชประโยชน และปกปองรักษาทรัพยากร ผสมผสานภูมิปญญาชาวบานและเทคโนโลยีอยางเหมาะสม สงเสริม ความรูใหชุมชนเขมแข็งตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหชุมชนพัฒนาทางความคิด และกลไกในการดูแลตนเองมากขึ้นสามารถบริหารจัดการทรัพยากรดิน น้ํา ปาไม ใหดํารงชีวิตอยู รวมกับปาไมอยางสมดุล อยางไรก็ตามชุมชนบานคลองเรือ เปนหมูบานที่ไมมีไฟฟาใชและเปน ความฝนอันสูงสุดของชุมชนที่ตองการใหลูกหลานในหมูบานไดเห็นขาวสารภายนอก ซึ่งถือเปน “แสงสวางแหงปญญา” และชาวบานคลองเรือ ยังคงแสวงหาแหลงความรูและภูมิปญญาจากการ เดินทางไปดูงานในที่ตาง ๆ อยางตอเนื่อง ตอมาในป พ.ศ. 2551 ไดมีโครงการการจดัการความรูดานพลังงานไฟฟาในพื้นที่ภาคใต โดยความรวมมือระหวางนักวิชาการจากคณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยชีวิตเมืองนครศรีธรรมราช ภายใตการสนับสนุนจาก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งไดรวมทํางานกับชุมชน บานคลองเรือ โดยใชกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมเริ่มตนจากการศึกษาศักยภาพของชุมชน ในดานสังคม และทรัพยากรธรรมชาติ พรอม ๆ กับการเปดโลกทัศน นําผูนําชุมชนศึกษาดูงานดาน การผลิตไฟฟา จากแหลงพลังงานตาง ๆ ทั้งจากเชื้อเพลิง ถานหิน น้ําตก และชีวมวลในพื้นที่ ภาคเหนือและพบวาชุมชนบานคลองเรือ มีความพรอมในดานตาง ๆ โดยเฉพาะศักยภาพทาง ทรัพยากร (น้ํา) และความเขมแข็งของชุมชน ดังนั้นทีมงานดานวิศวกรรมศาสตร จึงเริ่มศึกษา รายละเอียดดานเทคนิค ศึกษาความเปนไปไดในการกอสรางโรงไฟฟาพลังน้ํา บริเวณน้ําตกเหวตาจันทร หลังจากการสํารวจ เก็บขอมูลสภาพพื้นที่ ชุมชนจึงไดเลือกโรงไฟฟาที่มีกําลังการผลิต 100 กิโลวัตต ที่ไมสงผลกระทบตอสภาพทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนวิถีการดํารงชีวิตของ ชุมชนที่มีมาแตเดิม ในระหวางการดําเนินโครงการชุมชนมีสวนรวมในทุกขั้นตอนมีการเตรียมชาง ชุมชนเขาอบรมเพิ่มพูนความรู เรื่องการเดินระบบผลิตไฟฟา การดูแลรักษาเครื่องจักรอุปกรณ ตลอดจนรวมกันวางแผนการกอสราง การระดมทุน การประสานความรวมมือกับภาคีตาง ๆ      จนเกิดองคกร / กลไกใหมขึ้นมา ทั้งในระดับจังหวัดและในระดับชุมชน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดเล็งเห็นถึงศักยภาพทางทรัพยากร     โดยการนําทรัพยากรมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดและการสรางความเขมแข็งของชุมชนเพื่อใหเกิด การพัฒนาพลังงานอยางยั่งยืน จึงจัดสงเจาหนาที่ศึกษารายละเอียดความเปนไปไดของการพัฒนา โรงไฟฟาชุมชนบานคลองเรือ และใหการสนับสนุน ดังนี้ 
            1) เครื่องกําเนิดไฟฟาพรอมอุปกรณประกอบ ซึ่งเปนผลงานการวิจัยเครื่องกําเนิด ไฟฟาขนาดเล็กของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี จากทุนการวิจัยของ กฟผ. 
           2) งบประมาณสําหรับการจัดหาระบบสงไฟฟา จากโรงไฟฟาไปยังหมูบาน จํานวน  9,000,000 บาท (เกาลานบาท) 
     3) สนับสนุนบุคลากรผูเชี่ยวชาญเครื่องจักรอุปกรณและใหคําแนะนํารวมกับชุมชน ระหวางการกอสรางทุกขั้นตอน

เรื่องที่ 2 โรงไฟฟากับการจัดการดานสิ่งแวดลอม 
         การกอสรางโรงไฟฟาแตละแหงมีการใชทรัพยากรธรรมชาติและอาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม

ดวยเหตุนี้ในการกอสรางโรงไฟฟาแตละแหงจึงใหความสําคัญเกี่ยวกับการใช ทรัพยากรธรรมชาติ การปองกันแกไขและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม เพื่อสรางความ สมดุลระหวางโรงไฟฟากับสิ่งแวดลอมและชุมชนใหดีที่สุด เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการ ของภาคเศรษฐกิจและสังคมไดอยางยั่งยืน โดยเนนใหมีการดําเนินการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม ใหมีประสิทธิภาพเพื่อใหเกิดผลกระทบนอยที่สุดแบงเปน

                                                              รูปโรงไฟฟ้าแม่เมาะ
                                 

ตอนที่ 1 ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและการจัดการ 
การเดินเครื่องโรงไฟฟาเพื่อผลิตกระแสไฟฟา อาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในดานตาง ๆ เชน ผลกระทบทางอากาศเกิดจากกาซพิษ ซึ่งเกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิง ผลกระทบทางเสียงเกิด จากเสียงของการเดินเครื่องจักร ผลกระทบทางน้ําเกิดจากอุณหภูมิและสารเคมี เปนตน ดังนั้น โรงไฟฟาจึงตองมีระบบการจัดการเพื่อใหอยูในเกณฑมาตรฐานหรือเปนไปตามมาตรฐานที่ กฎหมายกําหนด และไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม  
  
            1. ดานอากาศ ผลกระทบดานอากาศ ถือเปนผลกระทบที่สําคัญที่สุดที่โรงไฟฟาตองคํานึงถึง  โดย ระดับของผลกระทบขึ้นอยูกับชนิดของเชื้อเพลิงที่ใชในโรงงานไฟฟา ถาเปนโรงไฟฟาพลังน้ําหรือ พลังงานทดแทน เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม  จะไมกอใหเกิดมลพิษ  ถาเปนโรงไฟฟาที่มี การเผาไหมของเชื้อเพลิง จะกอใหเกิดมลพิษทางอากาศที่สําคัญ ไดแก ซัลเฟอรไดออกไซด ไนโตรเจนออกไซด กาซโอโซนในระดับพื้นดิน คารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด และฝุน ละออง การจัดการสิ่งแวดลอมดานอากาศ เปนการจัดการดานคุณภาพอากาศของโรงไฟฟา เพื่อลดกาซที่เปนพิษตอสุขภาพอนามัยและชุมชน โดยมีวิธีการดังนี้ 1) การลดกาซซัลเฟอรไดออกไซดทําโดยติดตั้งเครื่องกําจัดกาซซัลเฟอรได ออกไซด (Flue Gas Desulfurization : FGD) ซึ่งวิธีการนี้จะสามารถลดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ไดรอยละ 80 – 90  2) การลดกาซไนโตรเจนออกไซดกระบวนการที่ใชกันแพรหลายและมี ประสิทธิภาพสูงคือ Selective Catalytic Reduction (SCR) และเลือกใชเตาเผาที่สามารถลดการ เกิดไนโตรเจนออกไซด (Low Nitrogen Oxide Burner) 3) การลดกาซคารบอนมอนอกไซดทําไดโดยการเช็คอุปกรณเครื่องเผาไหมเปน ประจํา และควบคุมการเผาไหมใหมีปริมาณออกซิเจนที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณ 4) การลดกาซคารบอนไดออกไซด โดยการรวบรวมและกักเก็บกาซ คารบอนไดออกไซดไวใตดินหรือน้ํา เชน ในแหลงน้ํามันหรือกาซธรรมชาติที่สูบออกมาหมดแลว หรืออาจนํากาซคารบอนไดออกไซดไปใชในกระบวนการอุตสาหกรรม  5) การลดฝุนละอองโดยการใชอุปกรณกําจัดฝุนละออง ไดแก เครื่องดักฝุนดวยไฟฟา สถิต (Electrostatic Precipitator) เปนการกําจัดฝุนละอองโดยใชหลักการไฟฟาสถิต ซึ่งระบบนี้ ถือวามีประสิทธิภาพสูงมากในการดักจับฝุนเครื่องแยกฝุนแบบลมหมุน (Cyclone Separator) เปนการกําจัดฝุนละอองโดยใชหลักของแรงเหวี่ยง และเครื่องกรองฝุนแบบถุงกรอง (Bag Filter) เปนอุปกรณที่มีถุงกรองเปนตัวกรองแยกฝุนละอองออกจากกาซที่เกิดจากการเผาไหมถานหิน นอกจากนี้ในดานคุณภาพอากาศ โรงไฟฟาควรมีระบบตรวจวัดปริมาณสารเจือปน จากปลองโรงไฟฟาแบบอัตโนมัติอยางตอเนื่อง (Continuous Emission Monitoring Systems: CEMs) เพื่อตรวจติดตามและเฝาระวังสิ่งผิดปกติตาง ๆ เชน ปริมาณของมลพิษเกินมาตรฐานจะได หาสาเหตุและหาทางแกไข เพื่อใหคาตาง ๆ กลับมาปกติเหมือนเดิม ควรมีการจัดเก็บขอมูลทุกวัน และติดตั้งเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไปแบบตอเนื่อง (Ambient Air Quality Monitoring Systems: AAQMs) เพื่อวัดคุณภาพอากาศในบริเวณพื้นที่ชุมชนรอบโรงไฟฟาโดยทํา การเก็บขอมูลอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ตองควบคุมคุณภาพอากาศที่ปลอยออกจากปลองโรงไฟฟาใหอยู ในเกณฑมาตรฐานและเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ 
              2. ดานน้ํา ผลกระทบดานน้ํา น้ําที่ใชในกระบวนการผลิตไฟฟาจะมีการเติมสารเคมีบางอยาง เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของน้ําใหเหมาะสมสําหรับนํามาใชกับอุปกรณตาง ๆ ในโรงไฟฟารวมไปถึง น้ําหลอเย็นที่ใชสําหรับระบายความรอนใหกับระบบตาง ๆ ภายในโรงไฟฟาก็จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น กวาแหลงน้ําในธรรมชาติ ซึ่งหากน้ําเหลานี้ถูกปลอยออกจากโรงไฟฟาลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ เชน แมน้ํา ลําคลอง เปนตน โดยไมผานกระบวนการจัดการบําบัดฟนฟูน้ําที่ดีอาจสงผลกระทบตอพืช และสัตวน้ําที่อาศัยอยูรอบ ๆ ได การจัดการสิ่งแวดลอมดานน้ํา โรงไฟฟาตองมีมาตรการจัดการน้ําเสียที่มาจาก กระบวนการผลิตไฟฟา และจากอาคารสํานักงานตามลักษณะหรือประเภทของน้ําเสีย โดยคุณภาพ น้ําทิ้งตองมีการควบคุมใหครอบคลุมทั้งเรื่องของเสียและอุณหภูมิ ดังนี้ 1) การควบคุมอุณหภูมิของน้ํากอนที่จะปลอยสูแหลงน้ําสาธารณะ โดยน้ําจากทอหลอเย็น เมื่อน้ําทิ้งมีความขุนในระดับหนึ่งจะถูกระบายออกไปสูบอพักน้ําที่ 1 เพื่อใหตกตะกอน และลดอุณหภูมิลงเหลือประมาณ 28 - 30 องศาเซลเซียสทิ้งไวเปนเวลาอยางนอย 24 ชั่วโมง จากนั้นจึงระบายออกสูบอพักที่ 2 เพื่อปรับสภาพน้ําใหมีอุณหภูมิใกลเคียงกับธรรมชาติ ซึ่งกรม ชลประทานไดกําหนดมาตรฐานไวที่ระดับ 33 องศาเซลเซียส กอนปลอยออกสูคลองระบายน้ํา ธรรมชาติ 2) การจัดการสารเคมีตาง ๆ ที่อยูภายในน้ํากอนปลอยสูสิ่งแวดลอม ทําโดยการกักน้ํา ไวในบอปรับสภาพน้ําเพื่อบําบัดใหมีสภาพเปนกลางและมีการตกตะกอน หรือเติมคลอรีนเพื่อฆา เชื้อโรค นอกจากนี้ในโรงไฟฟาควรมีระบบเฝาระวังคุณภาพน้ํา ไดแก การตรวจวัดคุณภาพน้ํา ที่ระบายออกจากโรงไฟฟาอยางสม่ําเสมอ เพื่อใหมั่นใจวาคุณภาพน้ําที่จะปลอยออกสูธรรมชาตินั้น มีคุณภาพอยูในเกณฑมาตรฐานและเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ  
  
          3.ดานเสียง ผลกระทบดานเสียง เกิดจากกิจกรรมของโรงไฟฟาที่สําคัญจะมาจากหมอไอน้ํา เครื่องกําเนิดไฟฟากังหันกาซ และพาหนะที่เขามาในพื้นที่โรงไฟฟา  การจัดการสิ่งแวดลอมเสียง เกิดจากกิจกรรมของโรงไฟฟาที่สําคัญจะมาจากหมอไอ น้ํา เครื่องกําเนิดไฟฟากังหันกาซ และพาหนะที่เขามาในพื้นที่โรงไฟฟา ดวยเหตุนี้โรงไฟฟาควร กําหนดมาตรการควบคุมระดับเสียงไว ดังนี้ 1) กิจกรรมที่กอใหเกิดเสียงรบกวนชุมชนในเวลากลางคืน ตองมีระดับเสียงไมเกิน 85 เดซิเบล ในระยะ 1 เมตรจากจุดกําเนิดเสียง ตามมาตรฐานขอกําหนดความดังของเสียงจากโรงงาน อุตสาหกรรมเพื่อไมใหเปนที่รบกวนตอผูอยูอาศัยโดยรอบโรงไฟฟา 2) ติดตั้งอุปกรณควบคุมเสียงภายในโรงไฟฟาชวงเดินเครื่องผลิตไฟฟาและติดตั้ง อุปกรณดูดซับเสียงแบบเคลื่อนที่ขณะทําความสะอาดทอที่เครื่องกังหันไอน้ํา เพื่อควบคุมความดัง ของเสียงใหอยูในมาตรฐานไมเกิน 85 เดซิเบล นอกจากนี้ในโรงไฟฟาควรทําการตรวจวัดเสียงอยางสม่ําเสมอ โดยกําหนดจุดตรวจวัด เสียงทั้งภายในโรงไฟฟา และชุมชนรอบโรงไฟฟาไว 3 จุด โดยตรวจวัดตามแผนที่กําหนดไว เชน ตรวจครั้งละ 3 วัน ติดตอกันทุก 3 เดือน และทําการกอสรางแนวปองกันเสียง (Noise Barrier) โดยการปลูกตนไมรอบพื้นที่โรงไฟฟา  
ตอนที่ 2 ขอกําหนดและกฎหมายที่เกี่ยวของกบัโรงไฟฟาดานสิ่งแวดลอม พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 กําหนดให จัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สําหรับโครงการ หรือกิจการแตละประเภทและ แตละขนาดขึ้น ตามหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอมที่กําหนดโดยสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม  โครงการกอสรางโรงไฟฟา ที่มีขนาดตั้งแต 10 เมกะวัตตขึ้นไป จะตองจัดทํารายงานการ วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) และ การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สังคม และสุขภาพ (EHIA) ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาด ของโครงการหรือกิจการ โดยตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม             ตามหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอม 
1. การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment : EIA) EIA (Environmental Impact Assessment) เปนวิธีการอยางหนึ่งที่ใชเพื่อจําแนก และคาดคะเนผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากโครงการหรือกิจกรรม ตลอดจนเสนอแนะมาตรการ ในการแกไขผลกระทบ (Mitigation Measure) และแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม (Monitoring) ทั้งในระหวางการกอสรางและดําเนินโครงการในการจัดทํารายงานสําหรับโครงการ หรือกิจการทุกประเภทที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) จะตองเสนอ รายละเอียดของขอมูลเฉพาะที่จะเปนประโยชนตอการวิเคราะหผลกระทบจากแตละประเภท โครงการดวย  องคประกอบของ EIA การจัดทํา EIA ประกอบดวย การศึกษาครอบคลุมระบบสิ่งแวดลอม 4 ดาน คือ 1) ทรัพยากรกายภาพ เปนการศึกษาถึงผลกระทบ เชน ดิน น้ํา อากาศ เสียง เปนตน วาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางไร 2) ทรัพยากรชีวภาพ การศึกษาความเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ที่มีตอระบบนิเวศน เชน ปาไม สัตวปา  สัตวน้ํา ปะการัง เปนตน 3) คุณคาการใชประโยชนของมนุษย เปนการศึกษาถึงการใชประโยชนจาก ทรัพยากรทั้งทางกายภาพ และชีวภาพของมนุษย เชน การใชประโยชนที่ดิน เปนตน 4) คุณคาตอคุณภาพชีวิต ซึ่งจะเปนการศึกษาถึงผลกระทบที่จะเกิดตอมนุษย ชุมชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ คานิยม รวมถึง ทัศนียภาพ คุณคา ความสวยงาม หลักการและวิธีการ EIA 1) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม กอนตัดสินใจพัฒนาโครงการ 2) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม เปนการศึกษาเฉพาะกรณี เพื่อใชสําหรับ                   การตัดสินใจพัฒนาโครงการใดโครงการหนึ่ง 3) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม เปนการศึกษาปญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ของโครงการพัฒนา 4) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม เปนการศึกษาปญหาหลาย ๆ แงมุม เพื่อ วิเคราะห หาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น 5) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ตองอาศัยหลักการปองกันสิ่งแวดลอม        2 ประการ คือ การวางแผนการใชที่ดิน และการควบคุมมลพิษ  
ดังนั้น ในกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม นอกจากจะแสดงใหเห็น ผลกระทบอันเกิดจากการดําเนินโครงการแลว ยังเนนใหมีการปองกันดานสิ่งแวดลอมเขาไปทุก ขั้นตอนของการวางแผนและออกแบบโครงการ ดวยหลักการก็คือ ใหมีการปองกันไวกอน นั่นคือ ใหมีการพิจารณาทางเลือกของโครงการเพื่อที่จะสามารถเปรียบเทียบ พิจารณาทางเลือกที่มี ผลกระทบทางลบนอยที่สุด และใหประโยชนหรือผลกระทบในทางบวกมากที่สุด 
    

4.1 กลยุทธ์การประหยัดพลังงานไฟฟ้า 3 อ.

เรื่องที่ 1 กลยุทธ์การประหยัดพลังงานไฟฟ้า 3 อ.
การประหยัดพลังงาน คือ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และรู้คุณค่า
การประหยัดพลังงานนอกจากช่วยลดปริมาณการใช้พลังงาน ยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายของ
ครัวเรือนและประเทศชาติแล้ว ยังช่วยลดปัญหาผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมได้ด้วย กลยุทธ์หนึ่งของ
ประเทศไทย ที่ประสบความสำเร็จด้านการประหยัดการใช้ไฟฟ้าและพลังงานของชาติ คือ การ
เลือกแนวทางที่เหมาะสมสอดคล้องกับชีวิตและอุปนิสัยของคนไทย ด้วยการใช้ “กลยุทธ์การ
ประหยัดพลังงาน 3 อ.” ได้แก่ อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า อาคารประหยัดไฟฟ้า และอุปนิสัยประหยัด
ไฟฟ้า ซึ่งฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ที่ดำเนินการโดย กฟผ. เป็นตัวอย่างหนึ่งของกลยุทธ์ประหยัด
พลังงานที่ประสบความสำเร็จ ตามกลยุทธ์ 3 อ. โดยแบ่งรายละเอียดเป็น 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 กลยุทธ์ อ. 1 อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
ตอนที่ 2 กลยุทธ์ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟ้า
ตอนที่ 3 กลยุทธ์ อ. 3 อุปนิสัยประหยัดไฟฟ้า

 อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า
กลยุทธ์ อ. 1 อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนเปลี่ยนมาใช้
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง ประหยัดไฟ กฟผ. จึงได้ดำเนินโครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 หรือ ฉลากเบอร์ 5” มุ่งส่งเสริมให้ผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน โดยมีการรับรองภายใต้สัญลักษณ์ “ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์5” โดยในปัจจุบัน กฝผ. ได้ให้การรับรองอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าฉลากเบอร์ 5 รวม 24     รายการ ดังนี้
  1.  ปี 2536 โครงการประชาร่วมใจ ใช้หลอดผอม
  2. ปี 2537 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ตู้เย็น
  3. ปี 2538 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เครื่องปรับอากาศ
  4.  ปี 2539 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 หลอดตะเกียบ
  5. ปี 2541 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 บัลลาสต์นิรภัย
  6.  ปี 2542 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ข้าวกล้องหอมมะลิ
  7.  ปี 2544 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 พัดลมไฟฟ้า
  8.  ปี 2547 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
  9.  ปี 2547 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 โคมไฟประสิทธิภาพสูง
  10. ปี 2550 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ T5
  11. ปี 2551 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 พัดลมส่ายรอบตัว
  12.  ปี 2552 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 หลอดผอมเบอร์ 5
  13. ปี 2553 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 Standby Power 1 Watt (เครื่องรับโทรทัศน์/จอคอมพิวเตอร์)
  14. ปี 2554 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เตารีดไฟฟ้า
  15.  ปี 2554 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 
  16. ปี 2555 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 พัดลมระบายอากาศ
  17.  ปี 2555 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
  18.  ปี 2556 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เครื่องซักผ้าชนิดฝาบนถังเดี่ยว
  19.  ปี 2556 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 LED (Light Emitting Diode)
  20. ปี 2557 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เตาไมโครเวฟ
  21.  ปี 2557 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เตาแม่เหล็กไฟฟ้า
  22.  ปี 2557 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 กาต้มน้ำไฟฟ้า
  23.  ปี 2557 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 เครื่องรับโทรทัศน์
  24.  ปี 2558 โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ตู้แช่แสดงสินค้าImage result for ภาพอุปกรณ์ติดฉลากประสิทธิภาพสูง
  25. ปัจจุบันฉลากเบอร์ 5 มีผู้ลอกเลียนแบบจำนวนมากเพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อ โดยมีการติดฉลากเลียนแบบ หรือติดเพียงครึ่งเดียว ซึ่งหาก กฟผ. ตรวจพบจะแจ้งดำเนินคดีตามกฎหมายทั้งนี้ กฟผ. ได้จดทะเบียนเครื่องหมายรับรองตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า หากบุคคลใดลอกเลียนแบบถือว่ามีความผิดตามกฎหมาย ดังนั้น ในการเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อให้มั่นใจว่าได้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานได้จริง ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อต้องสังเกตและตรวจสอบให้มั่นใจว่าเป็นฉลากเบอร์ที่ได้รับการรับรองจริงจาก กฟผ. โดยสามารถสังเกตลักษณะของฉลากเบอร์ 5 ได้ ดังภาพ

           
                                 ฉลากเบอร์ 5 ของแท้
      2. กลยุทธ์ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟ้า
      กลยุทธ์ อ. 2 อาคารประหยัดไฟฟ้า เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการภาคธุรกิจ
      และภาคอุตสาหกรรม เห็นความสำคัญและพร้อมใจกันใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง เช่นเดียวกับกลุ่มภาคที่อยู่อาศัยพร้อมไปกับการใช้มาตรการต่าง ๆ ที่เป็นการประหยัดไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ การบริหารการใช้ไฟฟ้า การปรับปรุงระบบป้องกันความร้อนเข้าสู่อาคาร การใช้ระบบปรับอากาศประสิทธิภาพสูง การปรับปรุงระบบแสงสว่าง และการจัดการอบรมให้ความรู้ด้านการใช้พลังงานอย่างถูกต้อง ลดต้นทุนการผลิตสินค้าให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก โดยการ
      ประหยัดพลังงานไฟฟ้าในอาคารสามารถดำเนินการได้ ดังนี้
      1) การออกแบบวางตำแหน่งอาคาร ให้หันอาคารไปยังทิศที่หลบแดดทิศตะวันตก
      2) ถ้าพื้นที่ดินไม่เอื้ออำนวยให้วางอาคารหลบแดดทิศตะวันตก ให้ใช้ไม้ยืนต้นให้
      ร่มเงาแก่อาคาร พร้อมทิ้งชายคาหลังคาหรือจัดทำแผงบังแดดช่วยเสริมการบังแดด
      3) ผนัง หลังคา และฝ้าเพดานอาคาร ให้ใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนความร้อน
      สะท้อน หรือป้องกันความร้อน
      4) ใช้วัสดุนวัตกรรมช่วยระบายความร้อน เช่น ลูกระบายอากาศอลูมิเนียมที่ทำงาน
      โดยไม่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้า
      5) ระบบปรับอากาศ ให้ใช้ชนิดประหยัดไฟ และแยกสวิตช์เปิด – ปิดเฉพาะเครื่อง
      เพื่อให้ควบคุมการเปิด - ปิดตามความประสงค์การใช้งานในแต่ละบริเวณ
      6) ลดจำนวนพัดลมดูดอากาศ เพื่อป้องกันการสูญเสียอากาศเย็นมิให้ออกไปจาก
      ห้องปรับอากาศมากเกินไป
      7) ระบบไฟฟ้าแสงสว่างให้พยายามใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติในเวลากลางวัน
      เช่น ใช้กระเบื้องโปร่งแสง หน้าต่างใช้กระจกใส เป็นต้น
      8) หลอดไฟให้ใช้ชนิดเกิดความร้อนที่ดวงโคมน้อย เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์
      เพื่อเครื่องปรับอากาศไม่ต้องใช้พลังงานมาลดความร้อนจากหลอดไฟแสงสว่างโดยไม่จำเป็น
      9) หลอดฟลูออเรสเซนต์ให้ใช้อุปกรณ์นวัตกรรม คือ บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์
      เพื่อยืดอายุการใช้งานของหลอดไฟ และประหยัดค่าไฟฟ้า ใช้ครอบโลหะสะท้อนแสงช่วยเพิ่มความ
      สว่างแก่หลอดไฟเป็น 2 – 3 เท่า โดยใช้จำนวนหลอดไฟเท่าเดิม
      10) ออกแบบภูมิทัศน์รอบอาคารเพื่อลดความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร เช่น ปลูกหญ้า
      รอบอาคาร ขุดสระน้ำ ติดตั้งน้ำพุ ดักลมก่อนพัดเข้าสู่อาคาร และปลูกไม้ยืนต้นให้ร่มเงา เป็นต้น

      3. กลยุทธ์ อ. 3 อุปนิสัยประหยัดไฟฟ้า
                                กลยุทธ์ อ. 3 คือ อุปนิสัยประหยัดไฟฟ้า เป็นการปลูกจิตสำนึกและอุปนิสัยให้คนไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดย กฟผ. ได้มีการนำร่องจัดทำโครงการห้องเรียนสีเขียวขึ้นในโรงเรียนระดับต่าง ๆ ทั่วประเทศกว่า 420 โรงเรียน ได้จัดเป็นฐานการเรียนรู้ มีการติดตั้งอุปกรณ์การเรียนรู้ให้เป็นฐานกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ฐานการเรียนรู้ไฟฟ้ามีประโยชน์มากมาย แหล่งกำเนิดไฟฟ้า เปรียบเทียบประสิทธิภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นต้น และสอดแทรกแบบฝึกหัดเกี่ยวกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเข้าไปในบทเรียน เพื่อเสริมสร้างทัศนคติให้กับเยาวชน และผลการดำเนินโครงการประสบผลสำเร็จสามารถขยายผล ไปยังชุมชน จึงนับว่าเป็นโครงการที่เสริมสร้างทัศนคติในการใช้พลังงานไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                             การสร้างหรือพัฒนาอุปนิสัยประหยัดพลังงานอาจไม่ใช่เรื่องง่าย จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือ ร่วมใจจากสมาชิกในครัวเรือน องค์การหรือสำนักงาน ซึ่งจำเป็นต้องสร้างความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของแนวทางปฏิบัติที่นำไปสู่อุปนิสัยการประหยัดพลังงาน และผลที่จะได้รับทั้งในส่วนของตนเอง คือ สามารถประหยัดค่าใช้พลังงานไฟฟ้า และการช่วยประเทศชาติให้ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในภาพรวม ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างและสนับสนุนความมั่นคงของพลังงานไฟฟ้าในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 กระทรวงพลังงานได้จัดโครงการ “รวมพลังคนไทยลดพีคไฟฟ้า” เพื่อขอความร่วมมือให้คนไทยร่วมกันประหยัดการใช้ไฟฟ้าในช่วงหน้าร้อนที่มีโอกาส จะเกิดการใช้ไฟฟ้าสูงสุด เรียกว่า “ปฏิบัติการ 4 ป. ได้แก่ ปิด – ปรับ – ปลด – เปลี่ยน”

4.2 การเลือกซื้อ การใช้และการดูแลรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน

เรื่องที่ 2 การเลือกซื้อ การใช้ และการดูแลรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

โดยทั่วไป เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในครัวเรือน มักมีการใช้พลังงานสูงแทบทุกชนิด ดังนั้นผู้ใช้ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดให้เหมาะสมและถูกวิธีเพื่อทำให้เกิดความประหยัดและคุ้มค่า ในที่นี้จะกล่าวถึงเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีการใช้ทั่วไปในครัวเรือน
ดังนี้
1. เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ทำให้น้ำร้อนขึ้น โดยอาศัยการพาความร้อนจากขดลวดความร้อน (Electrical Heater) ขณะที่กระแสน้ำไหลผ่าน ส่วนประกอบหลักของเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า คือ
1) ตัวถังน้ำ จะบรรจุน้ำซึ่งจะถูกทำให้ร้อน
2) ขดลวดความร้อน เป็นอุปกรณ์ที่ให้ความร้อนกับน้ำ
3) อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ จะทำหน้าที่ตัดกระแสไฟฟ้าเมื่ออุณหภูมิของน้ำถึงระดับที่ตั้งไว้

ภาพส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า


การเลือกซื้อและการใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน
1) เลือกเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าให้เหมาะสมกับการใช้ สำหรับบ้านทั่วไปเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 4,500 วัตต์ ก็น่าจะเพียงพอ ซึ่งจะช่วยทั้งประหยัดไฟฟ้าที่ใช้ในเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าและปั๊มน้ำ
2) ตั้งอุณหภูมิน้ำไม่สูงจนเกินไป (ปกติอยู่ในช่วง 35 - 45 ํC)
3) ใช้หัวฝักบัวชนิดประหยัดน้ำ จะช่วยประหยัดน้ำได้ถึง ร้อยละ 25 - 75
4) ใช้เครื่องทำน้ำอุ่นที่มีถังน้ำภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุ้ม เพราะสามารถลดการใช้พลังงานได้มากกว่าชนิดที่ไม่มีถังน้ำภายใน ร้อยละ 10 - 20
5) ปิดวาล์วน้ำและสวิตช์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน
6) ไม่เปิดเครื่องตลอดเวลาขณะฟอกสบู่อาบน้ำ หรือขณะสระผมค่าไฟฟ้าของเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้าขนาดต่าง ๆ เมื่อใช้งานเป็นเวลา 1 ชั่วโมงขนาดเครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าต่อชั่วโมงโดยประมาณ
ขนาดเล็ก (3,000 - น้อยกว่า 5,000 วัตต์) 13.20 บาท   ขนาดกลาง (5,000 - น้อยกว่า 8,000 วัตต์) 18.00 บาท  ขนาดใหญ่ (8,000 วัตต์ ขึ้นไป) 24.00 บาท

การดูแลรักษาและความปลอดภัย
1) หมั่นตรวจสอบการทำงานของเครื่องให้มีสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบความปลอดภัยของเครื่อง
2) ตรวจดูระบบท่อน้ำและรอยต่ออย่าให้มีการรั่วซึม
3) เมื่อพบความผิดปกติในการทำงานของเครื่อง ควรให้ช่างผู้ชำนาญตรวจสอบ
4) ต้องมีการต่อสายดิน

2. กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ในการต้มน้ำให้ร้อน ประกอบด้วยขดลวดความร้อน(Electrical Heater) อยู่ด้านล่างของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า และอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ(Thermostat) เป็นอุปกรณ์ควบคุมการทำงานเมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด จะเกิดความร้อน และถ่ายเทไปยังน้ำภายในกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า ทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงจุดเดือด จากนั้นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะตัดกระแสไฟฟ้าในวงจรหลักออกไป แต่ยังคงมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความร้อน และแสดงสถานะนี้ โดยหลอดไฟสัญญาณอุ่นจะสว่างขึ้น เมื่ออุณหภูมิของน้ำร้อนภายในกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าลดลงจนถึงจุด ๆ หนึ่ง อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิจะทำงานโดยปล่อยให้กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดความร้อนเต็มที่ทำให้น้ำเดือดอีกครั้งกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าโดยทั่วไปที่มีจำหน่ายในท้องตลาดจะมีขนาดความจุตั้งแต่ 2 - 4 ลิตร และใช้กำลังไฟฟ้าระหว่าง 500 - 1,300 วัตต์

ภาพส่วนประกอบหลักของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า


การเลือกซื้อและการใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน
1) เลือกซื้อรุ่นที่มีตรามาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
2) ใส่น้ำให้พอเหมาะกับความต้องการหรือไม่สูงกว่าระดับที่กำหนดไว้ เพราะจะทำให้กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าเกิดความเสียหาย
3) ระวังอย่าให้น้ำแห้ง หรือปล่อยให้ระดับน้ำต่ำกว่าขีดที่กำหนด เพราะจะทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรในกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า เป็นอันตรายอย่างยิ่ง
4) ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้น้ำร้อนแล้ว เพื่อลดการสิ้นเปลืองพลังงาน ไม่ควรเสียบปลั๊กตลอดเวลา แต่หากมีความต้องการใช้น้ำร้อนเป็นระยะ ๆ ติดต่อกัน เช่น ในที่ทำงานบางแห่งที่มีน้ำร้อนไว้สำหรับเตรียมเครื่องดื่มต้อนรับแขก ก็ไม่ควรถอดปลั๊กออกบ่อย ๆ เพราะทุกครั้งเมื่อดึงปลั๊กออกอุณหภูมิของน้ำจะค่อย ๆ ลดลง กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าไม่สามารถเก็บความร้อนได้นาน เมื่อจะใช้งานใหม่ก็ต้องเสียบปลั๊ก และเริ่มต้มน้ำใหม่ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองพลังงาน
5) อย่านำสิ่งใด ๆ มาปิดช่องไอน้ำออก
6) ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในสภาพใช้งานได้เสมอ
7) ไม่ควรตั้งไว้ในห้องที่มีการปรับอากาศ ค่าไฟฟ้าของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าขนาดต่าง ๆ เมื่อใช้งานเป็นเวลา 1 ชั่วโมง  ขนาดของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าต่อชั่วโมงโดยประมาณ  2 ลิตร 2.40 บาท
2.5 ลิตร 2.60 บาท   3.2 ลิตร 2.88 บาท

การดูแลรักษา
การดูแลรักษากระติกน้ำร้อนไฟฟ้าให้มีอายุการใช้งานนานขึ้น ลดการใช้พลังงานลงและป้องกันอุบัติเหตุ หรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น
1. หมั่นตรวจดูสายไฟฟ้าและขั้วปลั๊กให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์เสมอ
2. ควรนำน้ำที่สะอาดเท่านั้นมาต้ม มิฉะนั้นผิวในกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าอาจเปลี่ยนสีเกิดคราบสนิมและตะกรัน
3. หมั่นทำความสะอาดตัวกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าด้านใน อย่าให้มีคราบตะกรัน ซึ่งจะเป็นตัวต้านทาน การถ่ายเทความร้อนจากขดลวดความร้อนไปสู่น้ำ ทำให้เวลาในการต้มน้ำเพิ่มขึ้นเป็นการสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์
4. เมื่อไม่ต้องการใช้กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า ควรล้างด้านในให้สะอาด แล้วคว่ำลงให้น้ำออกจากตัวกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า แล้วใช้ผ้าเช็ดด้านในให้แห้ง
5. การทำความสะอาดส่วนต่าง ๆ ของกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า
- ตัวและฝากระติกน้ำร้อนไฟฟ้า ใช้ผ้าชุบน้ำบิดให้หมาดแล้วเช็ดอย่างระมัดระวัง
- ฝาปิดด้านใน ใช้น้ำหรือน้ำยาล้างจานล้างให้สะอาด
- ตัวกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าด้านใน ใช้ฟองน้ำชุบน้ำเช็ดให้ทั่ว ล้างให้สะอาดด้วยน้ำโดยอย่าราดน้ำ ลงบนส่วนอื่นของตัวกระติกน้ำร้อนไฟฟ้า นอกจากภายในกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าเท่านั้น อย่าใช้ของมีคมหรือฝอยขัดหม้อขูดหรือขัดตัวกระติกน้ำร้อนไฟฟ้าด้านใน เพราะจะทำให้สารเคลือบหลุดออกได้
3. พัดลม  พัดลมที่ใช้ในบ้านเป็นอุปกรณ์หลักที่ช่วยในการหมุนเวียนอากาศ และระบายความร้อนภายในบ้าน ซึ่งในปัจจุบันพัดลมที่ใช้มีหลากหลายลักษณะและประเภทขึ้นอยู่กับการใช้งานส่วนประกอบหลักของพัดลม ได้แก่ ใบพัด ตะแกรงคลุมใบพัด มอเตอร์ไฟฟ้า สวิตช์ควบคุมการทำงาน และกลไกควบคุมการหมุนและส่าย ดังรูป
ภาพส่วนประกอบหลักของพัดลม



การเลือกซื้อและการใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน

1. เลือกซื้อพัดลมที่เป็นระบบธรรมดา เพราะจะประหยัดไฟกว่าระบบที่มีรีโมทคอนโทรล หรือระบบไอน้ำ
2. เลือกซื้อยี่ห้อและรุ่นที่ได้รับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และมีฉลากเบอร์ 5
3. เลือกที่มีขนาดใบพัดและกำลังไฟฟ้าให้เหมาะสม และตรงกับความต้องการใช้งาน
4) เลือกใช้ความแรงของลมให้เหมาะกับความต้องการ ความแรงของลมยิ่งมากยิ่งเปลืองไฟ
5) ปิดพัดลมทันทีเมื่อไม่ใช้งาน
6) ในกรณีที่พัดลมมีระบบรีโมทคอนโทรลอย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะจะมีไฟฟ้าเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดเวลา
7) ควรวางพัดลมในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพราะพัดลมใช้หลักการดูดอากาศจากบริเวณรอบ ๆ ทางด้านหลังของตัวใบพัด แล้วปล่อยออกสู่ด้านหน้า เช่น ถ้าอากาศบริเวณรอบพัดลมมีการถ่ายเทดี ไม่ร้อนหรืออับชื้น ก็จะได้รับลมเย็น รู้สึกสบาย และยังทำให้มอเตอร์สามารถระบายความร้อนได้ดี เป็นการยืดอายุการใช้งานอีกด้วย

การดูแลรักษา
การดูแลรักษาพัดลมอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้พัดลมทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และยังช่วยยืดอายุการทำงาน มีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้

1) หมั่นทำความสะอาดตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบใบพัด อย่าให้ฝุ่นละอองเกาะจับ และต้องดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมอ อย่าให้แตกหัก ชำรุด หรือโค้งงอ ผิดส่วน จะทำให้ลมที่ออกมามีความแรงของลมลดลง
2) หมั่นทำความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็นช่องระบายความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ำมันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพของมอเตอร์ลดลง และสิ้นเปลืองไฟฟ้ามากขึ้น
4. โทรทัศน์ โทรทัศน์เป็นอุปกรณ์ที่แปลงสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นภาพด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีความซับซ้อน มีส่วนประกอบ ดังนี้
1) ส่วนประกอบภายนอก คือ ตัวโครงที่ห่อหุ้มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จอภาพซึ่งจะมีการเคลือบสารพิเศษทางด้านใน ปุ่มหรือสวิตช์ต่าง ๆ และช่องต่อสายอากาศ เป็นต้น
2) ส่วนประกอบภายใน คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวรับเปลี่ยนสัญญาณที่มาในรูปขอคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นภาพและเสียง ส่วนประกอบของจอภาพและระบบเสียงรวมทั้งลำโพง
เป็นต้น

ภาพการส่งสัญญาณโทรทัศน์มายังเครื่องรับโทรทัศน์



         ปริมาณพลังงานที่โทรทัศน์ใช้ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีและขนาดของจอภาพ โดยขนาดจอภาพของโทรทัศน์ ระบุด้วยความยาวเส้นทแยงของมุมจอภาพ โทรทัศน์แต่ละขนาดและแต่ละประเภทจะมีการใช้ไฟฟ้าแตกต่างกัน ยิ่งขนาดจอภาพใหญ่ก็จะใช้กำลังไฟฟ้ามากวัดตามเส้นทแยงมุม ชนขอบดำหน่วยเป็นนิ้ว  ค่าไฟฟ้าของโทรทัศน์ชนิดและขนาดต่าง ๆ เมื่อใช้งานเป็นเวลา 1 ชั่วโมง ชนิดและขนาดของจอโทรทัศน์ ค่าไฟฟ้าต่อชั่วโมงโดยประมาณ  จอแบน 20 นิ้ว 0.28 บาท  จอแบน 25 นิ้ว 0.67 บาท  จอ LCD 26 นิ้ว 0.35 บาท  จอ LCD 46 นิ้ว 0.76 บาท  จอ LED 26 นิ้ว 0.20 บาท  จอ LED 46 นิ้ว 0.40 บาท

การเลือกซื้อและการใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน
1) การเลือกใช้โทรทัศน์ควรคำนึงถึงความต้องการในการใช้งาน โดยพิจารณาจากขนาดและการใช้กำลังไฟฟ้า สำหรับเทคโนโลยีเดียวกัน โทรทัศน์ที่มีขนาดใหญ่ ยิ่งกินไฟมากขึ้น
2) อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้ เพราะโทรทัศน์จะมีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงระบบภายในอยู่ตลอดเวลา ทำให้สิ้นเปลืองไฟ และอาจก่อให้เกิดอันตรายในขณะเกิดฟ้าแลบได้
3) ปิดและถอดปลั๊กทันทีเมื่อไม่มีคนดู หากชอบหลับหน้าโทรทัศน์บ่อย ๆ ควรใช้โทรทัศน์ รุ่นที่ตั้งเวลาปิดโดยอัตโนมัติ เพื่อช่วยประหยัดไฟฟ้า
4) หากชมโทรทัศน์ช่องเดียวกันควรดูด้วยกัน ประหยัดทั้งค่าไฟ และอบอุ่นใจได้อยู่ด้วยกันทั้งครอบครัว
5) เลิกเปิดโทรทัศน์ล่วงหน้าเพื่อรอดูรายการที่ชื่นชอบ เปิดดูรายการเมื่อถึงเวลา
ออกอากาศ
6) ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป และไม่ควรเปลี่ยนช่องบ่อย เพราะจะ ทำให้หลอดภาพมีอายุการใช้งานลดลง และสิ้นเปลืองไฟฟ้าโดยไม่จำเป็น

การดูแลรักษา
การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคงทน
ภาพที่ได้คมชัด และมีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น ควรมีข้อปฏิบัติ ดังนี้
1) ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี เพื่อให้เครื่องสามารถระบาย
ความร้อนได้สะดวก
2) หมั่นทำความสะอาดเป็นประจำเพื่อลดปริมาณฝุ่นละอองที่เกาะบนจอภาพโดยใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวเครื่องโทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่างอ่อน หรือน้ำยาล้างจานผสมกับน้ำเช็ดเบา ๆ จากนั้นเช็ดด้วยผ้านุ่มให้แห้ง และต้องถอดปลั๊กออกก่อนทำความสะอาดทุกครั้ง
5. เตารีดไฟฟ้า



เตารีดไฟฟ้าเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้กันแทบทุกครัวเรือน หากเปรียบเทียบกับเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ เตารีดจัดเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กำลังไฟฟ้าสูง การทราบแนวทางการเลือกซื้อและใช้งานอย่างถูกวิธีจะสามารถลดการใช้ไฟฟ้าลงได้ ในท้องตลาดเตารีดสามารถแบ่งได้3 ลักษณะ คือ เตารีดแบบธรรมดา แบบมีไอน้ำ และแบบกดทับ ส่วนประกอบและการทำงานเตารีดมีส่วนประกอบสำคัญ 3 ส่วน คือ
1) ไส้เตารีดไฟฟ้า ทำมาจากโลหะผสมระหว่างนิกเกิลและโครเมียม ทำหน้าที่ให้กำเนิดความร้อนเมื่อได้รับกระแสไฟฟ้า โดยความร้อนจะมากหรือน้อยขึ้นกับส่วนผสมของโลหะและความยาวขดลวด
2) เทอร์มอสแตต ทำหน้าที่ปรับความร้อนของไส้เตารีดให้เท่ากับระดับที่ได้ตั้งไว้
3) แผ่นโลหะด้านล่างของเตารีด ทำหน้าที่เป็นตัวกดทับเวลารีด และกระจายความร้อน
แบบธรรมดา แบบไอน้ำ แบบกดทับเตารีดไฟฟ้าที่มีชนิดและขนาดต่างกัน มีอัตราการใช้กำลังไฟฟ้าไม่เท่ากัน ดังนี้
ชนิดของ   เตารีดไฟฟ้า   ขนาด   แรงกดทับ  ลักษณะ  กำลังไฟฟ้า(วัตต์)  ธรรมดา 1 – 2 กิโลกรัม  ตัวเตามีอุปกรณ์ 3 ชิ้น คือ แผ่นโลหะ ด้ามจับและปุ่มควบคุมความร้อน750 – 1,000ไอน้ำ 1 – 2 กิโลกรัม
มีช่องไอน้ำทางด้านล่างเตารีด และวาล์วควบคุมการเปิดน้ำไหลออก 1,100 – 1,750  ชนิดของเตารีดไฟฟ้า ขนาด  แรงกดทับ  ลักษณะ  กำลังไฟฟ้า (วัตต์)กดทับ 40 – 50  กิโลกรัมมีแผ่นความร้อนที่มีขนาดใหญ่กว่า  เตารีดแบบธรรมดาและแบบไอน้ำ มีคันโยกสำหรับกดทับ  900 – 1,200 การเลือกซื้อและการใช้เตารีดไฟฟ้าอย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงานในการใช้เตารีดไฟฟ้าอย่างประหยัดพลังงาน เราไม่ควรที่จะลดปริมาณความร้อนที่ใช้ในการรีดลง แต่ควรใช้เตารีดไฟฟ้า รีดผ้าอย่างรวดเร็วที่ระดับความร้อนที่เหมาะสมกับความหนาและชนิดของผ้า รวมทั้งควรปฏิบัติดังนี้
1) เลือกซื้อเฉพาะเตารีดไฟฟ้าที่ได้รับมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และมีฉลากเบอร์ 5
2) เลือกซื้อขนาดและกำลังไฟฟ้าให้เหมาะกับความต้องการและลักษณะการใช้งาน
3) ควรเก็บผ้าที่รอรีดให้เรียบร้อย และให้ผ้ายับน้อยที่สุด
4) ควรแยกประเภทผ้าหนาและผ้าบาง เพื่อความสะดวกในการรีด
5) ควรรวบรวมผ้าที่จะรีดแต่ละครั้งให้มากพอ การรีดผ้าครั้งละชุดทำให้สิ้นเปลือง
ไฟฟ้ามาก
6) ไม่ควรพรมน้ำมากจนเกินไป เพราะจะทำให้สูญเสียความร้อนจากการรีดมาก
7) ควรเริ่มรีดจากผ้าบาง ๆ หรือต้องการความร้อนน้อยก่อน จากนั้นจึงรีดผ้าที่ต้องการความร้อนสูง และควรเหลือผ้าที่ต้องการความร้อนน้อยส่วนหนึ่ง ไว้รีดในตอนท้าย
8) ควรถอดปลั๊กก่อนเสร็จสิ้นการรีด 3 - 4 นาทีค่าไฟฟ้าของเตารีดไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ เมื่อใช้งานเป็นเวลา 1 ชั่วโมง  ชนิดของเตารีดไฟฟ้า ค่าไฟฟ้าต่อชั่วโมงโดยประมาณ
เตารีดไฟฟ้าธรรมดา 4.00 บาท
เตารีดไฟฟ้าไอน้ำขนาดเล็ก 5.32 บาท
เตารีดไฟฟ้าไอน้ำขนาดใหญ่ 7.20 บาท

การดูแลรักษา
1. ตรวจดูหน้าสัมผัสเตารีดไฟฟ้า หากพบคราบสกปรก ให้ใช้ฟองน้ำชุบน้ำยาทำความสะอาดเช็ดออก เพราะคราบสกปรกจะเป็นตัวต้านทานความร้อน ทำให้สิ้นเปลืองไฟฟ้ามากขึ้นในการเพิ่มความร้อน
2. สำหรับเตารีดไฟฟ้าไอน้ำ น้ำที่ใช้ควรเป็นน้ำกลั่นเพื่อป้องกันการเกิดตะกรัน ซึ่งตะกรันจะเป็นสาเหตุของการเกิดความต้านทานความร้อน
3. เมื่อเกิดการอุดตันของช่องไอน้ำซึ่งเกิดจากตะกรัน เราสามารถกำจัดได้โดยเติมน้ำส้มสายชูลงในถังเก็บน้ำของเตารีดไฟฟ้าไอน้ำ แล้วเสียบสายไฟให้เตารีดร้อนเพื่อทำให้น้ำส้มสายชูกลายเป็นไอ จากนั้นเติมน้ำลงไป เพื่อล้างน้ำส้มสายชูออกให้หมด แล้วจึงใช้แปรงเล็ก ๆทำความสะอาดช่องไอน้ำ
4. การใช้เตารีดไฟฟ้าไปนาน ๆ แม้ว่าจะไม่เกิดการเสียหายชำรุด ก็ควรมีการตรวจ
หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ภายในบางอย่าง รวมทั้งสายไฟที่ต่อกันอยู่ซึ่งอาจชำรุด เสื่อมสภาพ ทำให้วงจร
ภายในทำงานไม่สมบูรณ์
6. ตู้เย็น
ตู้เย็น เป็นอุปกรณ์ที่มีใช้แพร่หลายในครัวเรือน เป็นอุปกรณ์ทำความเย็นเพื่อถนอมอาหารโดยการลดอุณหภูมิ ตู้เย็นเป็นอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้นการเลือกและใช้ตู้เย็นอย่างเหมาะสมจะช่วยประหยัดพลังงานได้มาก
ภาพตู้เย็น

อุปกรณ์หลัก ๆ ที่ทำให้ภายในตู้เย็นเกิดความเย็น ประกอบด้วย
1. คอมเพรสเซอร์ ทำหน้าที่ในการอัดและดูดสารทำความเย็นให้หมุนเวียนในระบบของตู้เย็น
2. แผงทำความเย็น มีหน้าที่กระจายความเย็นภายในตู้เย็น
3. แผงระบายความร้อน เป็นส่วนที่ใช้ระบายความร้อนของสารทำความเย็นแผงระบายความร้อนนี้ติดตั้งอยู่ด้านหลังของตู้เย็น
4. ตัวตู้เย็นทำจากโลหะ และอัดฉีดโฟมอยู่ระหว่างกลาง เพื่อทำหน้าที่เป็นฉนวนกันความร้อนจากภายนอก โดยปกติเราระบุขนาดของตู้เย็นเป็นคิว หรือลูกบาศก์ฟุต
5. อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ สวิตช์โอเวอร์โหลด พัดลมกระจาย
ความเย็น ฯลฯความเย็นของตู้เย็นเกิดขึ้นจากระบบทำความเย็น เมื่อเราเสียบปลั๊กไฟฟ้าให้กับตู้เย็น
คอมเพรสเซอร์จะดูดและอัดไอสารทำความเย็นให้มีความดันสูงขึ้น และไหลไปยังแผงระบายความร้อนเพื่อถ่ายเทความร้อนสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก จากนั้นจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวไหลผ่านวาล์วควบคุมสารทำความเย็นเพื่อลดความดัน ไหลต่อไปที่แผงทำความเย็นเพื่อดูดความร้อนจากอาหารและเครื่องดื่มที่แช่อยู่ในตู้เย็น ณ จุดนี้ สารทำความเย็นจะเปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอ และกลับไปยังคอมเพรสเซอร์เพื่อเริ่มวงจรทำความเย็นใหม่อีกครั้ง

การเลือกซื้อและการใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน
1) เลือกซื้อตู้เย็นที่ได้รับการรับรองฉลากเบอร์ 5
2) เลือกซื้อประเภทและขนาดให้เหมาะกับความต้องการและลักษณะการใช้งาน
3) ค่าไฟฟ้าจะเพิ่มตามจำนวนครั้งของการเปิด - ปิดตู้เย็น เพราะเมื่อเปิดตู้เย็นความร้อนภายนอกจะไหลเข้าตู้เย็น ทำให้คอมเพรสเซอร์ต้องทำงานหนักมากขึ้นเพื่อรักษาอุณหภูมิภายในตู้เย็นให้คงเดิมตามที่ตั้งไว้
4) ถ้าอุณหภูมิโดยรอบสูงขึ้น ปริมาณความร้อนจะถูกถ่ายเทเข้าไปในตู้เย็นมากขึ้นเป็นการเพิ่มภาระให้กับระบบทำความเย็น ดังนั้นจึงไม่ควรติดตั้งตู้เย็นใกล้กับแหล่งกำเนิดความร้อนใด ๆ หรือรับแสงอาทิตย์โดยตรง
5) ไม่เก็บอาหารในตู้เย็นมากเกินไป เพราะจะทำให้อุณหภูมิในตู้เย็นไม่สม่ำเสมอควรให้มีช่องว่าง เพื่อให้อากาศภายในไหลเวียนได้สม่ำเสมอ
6) ถ้านำอาหารที่มีอุณหภูมิสูงไปแช่ในตู้เย็นจะส่งผลกระทบดังนี้
(1) ทำให้อาหารต่าง ๆ ที่อยู่ในบริเวณข้างเคียงเสื่อมคุณภาพหรือเสียได้
(2) หากตู้เย็นกำลังทำงานเต็มที่จะทำให้ไอสารทำความเย็นก่อนเข้าเครื่องอัดร้อนจนไม่สามารถทำหน้าที่หล่อเย็นคอมเพรสเซอร์ได้เพียงพอ และส่งผลให้อายุคอมเพรสเซอร์สั้นลง
(3) สูญเสียพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
7) เมื่อดึงปลั๊กออกแล้วไม่ควรเสียบปลั๊กใหม่ทันที เพราะเมื่อเครื่องหยุด สารทำความเย็นจากส่วนที่มีความดันสูงจะไหลไปทางที่มีความดันต่ำจนความดันภายในวงจรเท่ากัน ดังนั้นถ้าคอมเพรสเซอร์เริ่มทำงานทันที สารทำความเย็นยังไหลกลับไม่ทัน เครื่องจึงต้องออกแรงฉุดมากเพื่อเอาชนะแรงเฉื่อยและแรงเสียดทาน ซึ่งจะส่งผลให้มอเตอร์ของเครื่องอัดทำงานหนักและเกิดการชำรุดหรืออายุการใช้งานสั้นลงค่าไฟฟ้าของตู้เย็นขนาดต่าง ๆ เมื่อใช้งานเป็นเวลา 1 ชั่วโมง
ขนาดของตู้เย็น ค่าไฟฟ้าต่อชั่วโมงโดยประมาณ  4 คิว 0.21 บาท  6 คิว 0.27 บาท  12 คิว 0.72 บาท

การดูแลรักษา
1. สำหรับตู้เย็นที่มีแผงระบายความร้อนควรทำความสะอาดแผงระบายความร้อน ตู้เย็นสม่ำเสมอ ถ้ามีฝุ่นเกาะสกปรกมาก จะระบายความร้อนไม่ดี มอเตอร์ต้องทำงานหนัก เปลืองไฟมากขึ้น
2. อย่าให้ขอบยางประตูมีจุดชำรุดหรือเสื่อมสภาพ เพราะความร้อนจะไหลเข้าตู้เย็นทำให้มอเตอร์ต้องทำงานหนักและเปลืองไฟฟ้ามาก ตรวจสอบโดยเสียบกระดาษระหว่างขอบยางประตูแล้วปิดประตู ถ้าสามารถเลื่อนกระดาษไปมาได้แสดงว่าขอบยางเสื่อมสภาพ ควรติดต่อช่างมาเปลี่ยนขอบยาง
3. อุปกรณ์ระบายความร้อน จะติดตั้งอยู่ด้านหลังตู้เย็น เพื่อให้สามารถระบายความ
ร้อนได้ดี ควรวางตู้เย็นให้มีระยะห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 10 ซม. ด้านบนอย่างน้อย 30 ซม. ด้านข้าง
อย่างน้อย 2 - 10 ซม.
7. หลอดไฟ

        หลอดไฟ เป็นอุปกรณ์ให้แสงสว่างที่มีใช้กันทุกครัวเรือน ถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต นอกจากประโยชน์ในเรื่องแสงสว่างแล้ว ยังสามารถใช้ในการตกแต่ง และสร้างบรรยากาศอีกด้วย โดยหลอดไฟที่ใช้กันอยู่มีหลายชนิด มีคุณสมบัติในการให้แสงสว่างและทางไฟฟ้าต่างกัน ดังนั้นหากผู้ใช้รู้จักเลือกใช้หลอดไฟอย่างเหมาะสม จะทำให้สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายได้มาก เพื่อให้สามารถเลือกซื้อได้อย่างถูกต้อง ผู้ใช้ควรรู้จักคุณสมบัติของหลอดไฟก่อน ซึ่งคุณสมบัติของหลอดไฟต่าง ๆ เหล่านี้ ส่วนมากมักจะมีบอกอยู่ที่ข้างกล่องหรือฉลากกำกับผลิตภัณฑ์ ก่อนซื้อจึงควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติดังกล่าว เพื่อเลือกซื้อหลอดไฟประเภทต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ต่อไปนี้คือ ชนิด คุณสมบัติและลักษณะการใช้ของหลอดไฟประเภทต่าง ๆ ที่นิยมใช้ในบ้านพักและอาคารต่าง ๆ
ชนิดของหลอดไฟ คุณสมบัติและลักษณะการใช้หลอดไส้ มีใช้กันมาหลายสิบปี สมัยก่อนนิยมใช้กับงานให้แสงสว่างในบ้านพักอาศัย ห้องอาหาร ห้องรับแขก แต่ปัจจุบันไม่ค่อยนิยมเพราะกินไฟมาก คายความร้อน เปิดใช้ไม่นานหลอดจะร้อน อายุการใช้งานสั้นต้อง มีหลายขนาด เช่น 3วัตต์ 25 วัตต์ 40 วัตต์ 100 วัตต์ เป็นต้น ใช้คู่กับขั้วชนิด E14หรือ E27 แสงของหลอดไส้เมื่อส่องกับวัตถุต่างๆ แล้วสีของวัตถุจะไม่ผิดเพี้ยน ตามร้านเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า ของประดับต่าง ๆ ชอบใช้กันเพราะสีสันของสินค้าจะไม่ผิดเพี้ยน และยังควบคุมปรับความเข้มของแสงด้วยสวิตช์หรี่ไฟ(Dimmer) ได้ด้วย
หลอดไส้
หลอดฟลูออเรสเซนต์หรือหลอดนีออน นิยมใช้ให้แสงสว่างทั่วไปทั้งภายในและภายนอกบ้าน อายุการใช้งานยาวนานกว่า หลอดไส้ ที่จะพบได้บ่อย เช่น
- หลอด T8 ขั้วที่ใช้ร่วมกันจะเป็น G13
- หลอดผอมจอมประหยัด T5 เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์
รุ่นเล็กที่สุด แต่ให้แสงสว่างเท่ากับหลอดนีออนทั่วไปและกินไฟน้อยกว่า มี 3 เฉดสี ได้แก่ สีเดย์ไลท์ สีคูลไวท์ และสีวอร์มไวท์ หลอดรุ่นนี้ใช้กับขั้ว G5- หลอดวงกลมเหมือนโดนัท ที่ติดตั้งพร้อมโคมเพดาน
มีหลายขนาด เช่น 22 วัตต์ 32 วัตต์ 40 วัตต์ เป็นต้น ใช้งานหลอดฟลูออเรสเซนต ์ พร้อมชุดขั้วหลอด
หลอด T8   หลอดวงกลม  หลอด T5

ชนิดของหลอดไฟ คุณสมบัติและลักษณะการใช้


        หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอดที่พัฒนาขึ้นมาแทนหลอดไส้ เพื่อให้กินไฟน้อยลง ขนาดเล็กลง แต่กำลังส่องสว่างสูงขึ้น มีทั้งหลอดตะเกียบ หลอดเกลียว เป็นหลอดที่กินไฟน้อยกว่าหลอดชนิดอื่น ๆ ส่วนใหญ่ใช้งานให้แสงสว่างทั่วไปในบ้านพักอาศัย บริเวณที่ต้องเปิดไฟทิ้งไว้นาน ๆ อายุการใช้งานหลอดจะยาวนานกว่าหลอดไส้ถึง 8 เท่า และยาวนานกว่าหลอดนีออน 4 เท่า มี 2 แบบ คือ แบบมีบัลลาสต์ภายใน ใช้สวมแทนกับขั้วหลอดไส้ชนิดเกลียวได้ และแบบ บัลลาสต์ภายนอก ต้องมีขาเสียบกับบัลลาสต์ เช่น หลอดตะเกียบหลอดเกลียว หลอดจะมีอยู่ให้เลือก 3 สี ได้แก่ สีเดย์ไลท์ สีคูล
ไวท์ และสีวอร์มไวท์ เหมือนหลอดฟลูออเรสเซนต์
หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
หลอด LED (Light Emitting Diodes) เป็นหลอดไฟขนาดเล็กที่สุด แต่ให้แสงสว่างสู้เท่ากับหลอดรุ่นอื่น ๆ
หลักการทำงานของหลอด LED ต่างจากหลอดไส้ เนื่องจากเป็นหลอดไม่มีไส้ จึงไม่มีการเผาไส้หลอด หลอด LED ถึงไม่แผ่ความร้อน เพราะพลังงานส่วนใหญ่เปลี่ยนเป็นแสงไปหมดแล้ว แล้วก็อายุการใช้งานของหลอดยาวนานขึ้น ก็เพราะไม่มีการเผาไหม้นั่นเองหลอด LEDนอกจากชนิดของหลอดดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีหลอดไฟชนิดอื่น ๆ อีกมากมายให้ผู้ใช้ได้เลือกใช้ตามลักษณะหรือวัตถุประสงค์ของงาน เช่น ไฟส่องสว่างในรูปแบบต่าง ๆ ไฟประดับและตกแต่ง เป็นต้น

การเลือกซื้อและการใช้อย่างถูกวิธีและประหยัดพลังงาน
1) สำรวจรูปทรงของหลอดไฟ เพื่อกำหนดการใช้งาน ทิศทางการให้แสง และองศาของแสง
2) สำรวจขั้วหลอดที่ใช้ ซึ่งมีแบบขั้วเกลียว ขั้วเกลียวเล็ก ขั้วเข็ม หรือขั้วเสียบ
3) ตรวจสอบว่า ต้องมีอุปกรณ์ใดที่ใช้กับหลอดไฟ หรือ โคมไฟ เช่น หม้อแปลง บัลลาสต์ สวิตช์หรี่ไฟ เป็นต้น
4) พิจารณาคุณสมบัติของหลอดไฟ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยคุณสมบัติของหลอดไฟที่ต้องนำมาพิจารณา มีดังนี้
- ค่าฟลักซ์การส่องสว่าง (Luminous Flux) เป็นปริมาณแสงสว่างทั้งหมดที่ได้จากแหล่งกำเนิดแสง มีหน่วยวัดเป็นลูเมน (lm)
- ค่าความสว่าง (Illuminance) เป็นปริมาณแสงสว่างที่ตกกระทบบนวัตถุ(lumen) ต่อ 1 หน่วยพื้นที่ มีหน่วยเป็น ลูเมนต่อตารางเมตร (lm/sq.m.) หรือ ลักซ์ (Lux) นั่นเองโดยทั่วไป อาจเรียกว่า ระดับความสว่าง (Lighting level) จึงเป็นตัวที่บอกว่าแสงที่ได้เพียงพอหรือไม่
- ค่าความเข้มการส่องสว่าง (Luminous Intensity) เป็นความเข้มของแสงที่ส่องออกมาจากวัตถุ โดยทั่วไปจะวัดเป็นจำนวนเท่าของความเข้มที่ได้จากเทียนไข 1 เล่ม จึงมีหน่วยเป็นแคนเดลา (Candela, cd)
- ค่าความส่องสว่าง (Luminance) เป็นตัวที่บอกปริมาณแสงที่สะท้อนออกมาจากวัตถุ (candela) ต่อ 1 หน่วยพื้นที่ มีหน่วยเป็น แคนเดลาต่อตารางเมตร (cd/sq.m.) บางครั้งจึงอาจเรียกว่า ความจ้า (Brightness)
- ค่าประสิทธิผล (Efficacy) เป็นปริมาณแสงสว่างที่ออกมาต่อกำลังไฟฟ้าที่ใช้ มีหน่วยวัดเป็น ลูเมนต่อวัตต์ (lm/w) หลอดที่มีค่าประสิทธิผลสูง แสดงว่า หลอดนี้ให้ปริมาณแสงออกมามากแต่ใช้กำลังไฟฟ้าน้อย
- ค่าความถูกต้องของสี (Colour Rendering, Ra หรือ CRI) เป็นค่าที่ใช้บอกว่าหลอดไฟประเภทต่าง ๆ เมื่อแสงส่องสีไปบนวัตถุจะทำให้สีของวัตถุนั้นผิดเพี้ยนจากความเป็นจริงมากน้อยเพียงใด ไม่มีหน่วยแต่มักเรียกเป็น เปอร์เซ็นต์ (%) ตามค่าความถูกต้อง เช่น แสงอาทิตย์มี ค่า Ra = 100 เพราะแสงอาทิตย์ให้สเปกตรัมครบทุกสี เมื่อส่องไปบนวัตถุจะไม่เห็นความผิดเพี้ยนของสี เป็นต้น
- ค่าอุณหภูมิสีของแสง (Color Temperature) สีของแสงที่ได้จากหลอดไฟเทียบกับสีที่เกิดจากการเผาวัตถุดำอุดมคติให้ร้อนที่อุณหภูมินั้น มีหน่วยเป็นเคลวิน (K) อุณหภูมิสีเป็นตัวที่บอกว่าแสงที่ได้มีความขาวมากน้อยแค่ไหน ถ้ามีค่าอุณหภูมิสีของแสงต่ำแสงที่ได้จะออกมาในโทนเหลืองหรือแดง ถ้ามีค่าอุณหภูมิสีของแสงสูงแสงที่ได้จะออกมาในโทนขาวกว่า ในท้องตลาดทั่วไปมีให้เลือก 3 โทนสีนอกจากนี้แล้วสิ่งที่ควรรู้เพิ่มเติม คือ โทนสีของอุณหภูมิสีของแสง เพื่อให้สามารถได้แสงตามต้องการ โดยโทนสีของหลอดไฟในปัจจุบัน มีดังนี้
 สีวอร์มไวท์ (Warm White) ให้แสงสีแดงออกโทนส้ม เป็นโทนสีร้อนโทนอบอุ่น ค่าอุณหภูมิสีของแสงอยู่ที่ ต่ำกว่า 3,000 เคลวิน
 สีคูลไวท์ (Cool White) ให้แสงสีจะเริ่มออกมาทางสีขาว เป็นโทนสีที่ดูเย็นสบายตา ดูค่อนข้างสว่างกว่าเมื่อเทียบกับสีวอร์มไวท์ ค่าอุณหภูมิสีของแสงอยู่ที่ 3,000 - 4,500 เคลวิน
 สีเดย์ไลท์ (Day Light) ให้แสงสีโทนออกขาวอมฟ้า แต่คล้ายแสงธรรมชาติตอนเวลากลางวัน ดังนั้นค่าความถูกต้องของสีจึงมีมากกว่าเมื่อเทียบกับสีวอร์มไวท์หรือสีคูลไวท์
ค่าอุณหภูมิสีของแสงอยู่ที่ 4,500 - 6,500 เคลวิน ขึ้นไป
5) พิจารณาถึงค่าความสว่างที่เหมาะสม โดยสมาคมไฟฟ้าและแสงสว่างแห่งประเทศไทย ได้มีการกำหนดค่าความส่องสว่างที่เหมาะสมของแต่ละห้องในบ้าน ดังตารางตารางความส่องสว่างในพื้นที่ใช้งานต่าง ๆ ในบ้านอยู่อาศัยพื้นที่ ความส่องสว่างที่พื้นที่(ลักซ์)ความส่องสว่างรอบข้าง(ลักซ์)
ทางเข้า 150/500 60/100 ห้องครัว 500/750 250/350 ห้องรับประทานอาหาร 300 100 ห้องนั่งเล่น 60/300 60 ห้องทำงาน 300 150 ห้องน้ำ 500 200  ห้องน้ำแขก 250 10  ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า 500 200 ห้องนอนใหญ่ 300/500 100/150  ห้องนอนเด็ก 300 150  ทางเดิน 150 50  บันได 200 60 ถนนทางเข้าบ้าน 300 100  ที่มา : สมาคมไฟฟ้าและแสงสว่างแห่งประเทศไทย  สามารถคำนวณจำนวนหลอดไฟที่ต้องติดในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อให้ได้ความส่องสว่างที่ เหมาะสม ได้ดังนี้
จำนวนหลอดไฟ = ค่าความสว่าง (ลักซ์) × พื้นที่รับแสง (ตารางเมตร) อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นที่ (ลูเมน)โดยที่ จำนวนหลอดไฟ คือ จำนวนหลอดไฟที่จะติดในหนึ่งพื้นที่ ค่าความสว่าง (ลักซ์) คือ ความส่องสว่างในพื้นที่ใช้งานต่าง ๆ ในบ้านอยู่อาศัยที่ เหมาะสม (สามารถดูได้จากตารางความส่องสว่างในพื้นที่ใช้งานต่าง ๆ ในบ้านอยู่อาศัย) พื้นที่รับแสง (ตารางเมตร) คือ พื้นที่รับแสงต่อหนึ่งห้อง อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพื้นที่ (ลูเมน) คือ ค่าความสว่างของหลอดไฟ (สามารถดูได้จากกล่องหลอดไฟ)
6) พิจารณาโดยคำนึงถึงการประหยัดพลังงานไฟฟ้า หลอดไฟแต่ละชนิดจะใช้ พลังงานไฟฟ้าแตกต่างกัน โดยหลอด LED จะประหยัดไฟฟ้ามากที่สุด ซึ่งสามารถเปรียบเทียบการ ใช้พลังงานไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายของหลอดไฟทั้ง 3 แบบ ได้ดังตาราง
ตารางประสิทธิภาพของพลังงานและค่าใช้จ่ายจากหลอดไฟแต่ละประเภท
หัวข้อ หลอดไส้ หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์   หลอด LED ค่าเฉลี่ยอายุการใช้งาน (ชั่วโมง)
1,200 8,000 50,000  ค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพการส่อง สว่าง (ลูเมนต่อวัตต์) 12.5 – 17.5 45 – 75 69 – 100
ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ เทียบกับ  หลอดไส้ 1 หลอดต่อปี(กิโลวัตต์ต่อปี) 109.5 25.6 11.0
ค่าใช้จ่ายต่อปี เทียบกับหลอดไส้ 1 หลอดต่อปี (บาท) 424.8 94.4 37.4
ที่มา : http://www.hl.in.th/index/modules/plblog/frontent/details.php?plcn=knowled ge&plidp=6&plpn=why-we-change-to-use-led
7) ควรเลือกซื้อหลอด LED หรือหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ ที่มีฉลากเบอร์ 5 เนื่องจากกินไฟน้อย และมีอายุการใช้งานนาน
8) เลือกใช้หลอดไฟที่ได้มาตรฐาน
9) ลดจำนวนหลอดไฟในบริเวณที่อาศัยแสงธรรมชาติได้
10) ควรตั้งโคมไฟที่โต๊ะทำงาน หรือติดตั้งไฟเฉพาะจุด แทนการเปิดไฟทั้งห้องเพื่อทำงาน
11) ปิดสวิตช์ไฟ เมื่อไม่ใช้งาน
การดูแลรักษา
1) หมั่นทำความสะอาดหลอดไฟ เพราะจะช่วยเพิ่มแสงสว่าง โดยไม่ต้องใช้พลังงาน
มากขึ้น ควรทำความสะอาดอย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี หรือทุก ๆ 3 เดือน
2) สำหรับหลอดไฟที่เก็บไว้ ควรเก็บในบริเวณที่ไม่มีการกระทบกระทั่งกันจนเกิดการ
ชำรุดเสียหาย